258 41 7MB
Thai Pages 394 Year 2019
Measure What Matters ตั้งเปาชัด วัดผลไดดวย OKRs โดย John Doerr เรียบเรียงโดย กิตติพัทธ จิรวัสวงศ, ดร.ดไนยา ตั้งอุทัยสุข, ธนากร นํารับพร, สุชาดา ปาเตีย, นฤมล ตันติฤทธิศักดิ์, ดร. วีรินยาอร เหลืองบริบูรณ บรรณาธิการโดย ณรงควิทย แสนทอง สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) @ พ.ศ. 2562 หามคัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ทําซ้ํา จัดพิมพ หรือกระทําอื1นใด โดยวิธีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ ไมวาสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้ เพื1อเผยแพรในสื1อทุกประเภท หรือเพื1อวัตถุประสงค ใดๆ นอกจากจะไดรับอนุญาต All rights reserved including the right of reproduction in whole or in part in any form. This edition published by arrangement with Portfolio, an imprint of Penguin Publishing Group, a division of Penguin Random House LLC. Thai translation © 2019 SE-EDUCATION PUBLIC COMPANY LIMITED All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system, or transmitted, in any form or by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise without the prior permission in writing of the publisher or as expressly permitted by law, or under terms agreed with the appropriate copyright clearance organization. You must not circulate this book in any other binding or cover and you must impose this same condition on any acquirer.
ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ ดัวร, จอหน. ตั้งเปาชัด วัดผลไดดวย OKRs. -- กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562. 392 หนา. 1. วางแผนธุรกิจ. 2. สมรรถนะ. 3. เปาหมาย (จิตวิทยา). 4. ประสิทธิผลองคกร. 5. การวางแผนกลยุทธ. I. ดไนยา ตั้งอุทัยสุข, ผูเแปล. I I ชื1อเรื1อง. 658.4012
Barcode (e-book) : 9786160836949 ผลิตและจัดจําหนายโดย เลขที่ 1858/87-90 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาใต เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 0-2826-8000 >> หากมีคําแนะนําหรือติชม สามารถติดตอไดที่ comment@se–ed.com า .......................................110 พันธสัญญาของ จีนี่ คิม ในการเปลี่ยนแปลงระบบการดูแลสุขภาพ และสาธารณสุข
7 Superpower #2 : ปรับแตงและเชื1อมโยง
การทํางานเปนทีม.........................................................................119 กระตุนและเสริมสรางความแข็งแรงของทีมดวย OKRs ที่มีความโปรงใสและเปดเผย
8 ความสอดคลองกัน : เรื1องราวของมายฟตเนสพัล .....................134 การสรางความสอดคลองผาน OKRs เปนความทาทาย และใหผลตอบแทนมากกวาที่ ไมค ลี คาดไว
9 การเชื1อมโยง : เรื1องราวของอินทูอิต ..........................................149 แอตติคัส ไทเซน ใชความโปรงใสของ OKRs เสริมความแกรง ใหกับวัฒนธรรมที่เปดเผยของผูบุกเบิกซอฟตแวร
10 Superpower #3 : การติดตามเพื1อความรับผิดชอบ .................163 OKRs ชวยเราติดตามความกาวหนาและตรวจสอบความถูกตอง
11 ระบบการติดตามผล : ของมูลนิธิเกตส .......................................179 สตารต-อัพมูลคา 20 พันลานเหรียญ ใช OKRs เปนเครื1องมือตอสู กับโรคระบาดรายแรง
12 Superpower #4 : เปาหมายทาทายเพื1อผลงานที่น>าทึ่ง ...........189 OKRs เสริมพลังใหเราบรรลุเปาหมายที่ดูเหมือนวาจะเปนไปไมได
13 เปาหมายที่ทาทายอยางมาก : เรื1องราวของกูเกิลโครม.............202 ซันดาร พิชัย CEO ใช OKRs สรางเว็บเบราวเซอรชั้นนําของโลก
14 เปาหมายที่ทาทายอยางมาก : เรื1องราวของยูทูบ ......................215 ซูซาน วอจซิกกี้ CEO และเปาหมายที่บาดีเดือด 1 พันลานชั่วโมง
18
ภาคที่ 2 :
โลกใบใหมของการทํางาน
15 การบริหารผลการปฏิบัติงานอยางตอเนื1อง : OKRs
และ CFRs ....................................................................................239 การสนทนา การฟดแบค และการชื1นชม ชวยสรางความเปนเลิศไดอยางไร
16 การยกเลิกระบบประเมินผลงานประจําปของอะโดบี้..................255 อะโดบี้เนนยํ้าคานิยมหลักดวยการใชกระบวนการสนทนาและการฟดแบค
17 ทําใหดีขึ้นในทุกๆ วัน : เรื1องราวของซูมพิซซา ...........................265 ผูบุกเบิกระบบหุนยนตใช OKRs สรางทีมเวิรกและภาวะผูนํา ตลอดจนสรางสรรคพิซซาที่สมบูรณแบบ
18 วัฒนธรรมองคกร .........................................................................286 OKRs กระตุนการสรางวัฒนธรรม และ CFRs หลอเลี้ยงตอ
19 การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม : เรื1องราวของเดอะลูเมอริส .........301 กาวขามการตอตาน OKRs ดวยการปฏิรูปวัฒนธรรม
20 การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองคกร : เรื1องราวของ ONE
(แคมเปญของโบโน) ......................................................................315 ร็อคสตารระดับโลกใช OKRs ชวยชีวิตผูคนในแอฟริกา
21 เปาหมายที่จะมาถึง ......................................................................327 คําอุทิศ ..................................................................................................... 330 ภาคผนวก 1 : คูมือแนวทางการทํา OKRs ของกูเกิล .......................... 339 ภาคผนวก 2 : วงรอบของการทํา OKRs ............................................. 350 ภาคผนวก 3 : การสนทนาพูดคุยเกี่ยวกับผลงาน ................................. 352 ภาคผนวก 4 : สรุปขอมูลโดยยอ .......................................................... 356
19
ภาคผนวก 5 : แหลงขอมูลสําหรับการอานเพิ่มเติม............................... 364 กิตติกรรมประกาศ ................................................................................... 366 คําอธิบายเพิ่มเติม ..................................................................................... 372
20
ภาคที่ 1
OKRs ภาคปฎิบัติ
21
Measure.indd 8
5/17/2019 3:07:32 PM
1
จุดเริ่มตนของ OKRs ที่กูเกิล “ถาคุณไมรูวาคุณกําลังจะไปไหน คุณอาจจะไปไมถึงที่นั่น” - โยกิ เบอรรา
วั
นหนึ่งในฤดูใบไมรวง ป 1999 ณ ใจกลางของซิลิคอนวัลเลย ผมได มาถึงอาคารสองชั้นรูปตัวแอล ติดกับถนนฟรีเวยหมายเลข 101 ซึ่ง เปนสํานักงานใหญของกูเกิล ผมมาที่นี่พรอมกับของขวัญชิ้นหนึ่ง บริษทั ไดเชาอาคารนีเ้ มื1อสองเดือนกอน จากทีเ่ ดิมซึง่ อยูบ นชัน้ สองของ รานขายไอศกรีมในยานดาวนทาวนของพาโลอัลโต สองเดือนกอนหนานัน้ ผม ไดวางเดิมพันกอนใหญที่สุดในรอบสิบเกาปในฐานะนักลงทุนรวม (Venture Capitalist หรือที่เรียกกันวา VC) ดวยเงินเดิมพันมูลคา 11.8 ลานเหรียญ เพื1อแลกกับหุน 12 เปอรเซ็นตของสตารต-อัพที่กอตั้งโดยนักศึกษาสองคน ที่ดรอปจากสแตนฟอรด ผมไดรวมเปนบอรดของกูเกิล ผมใหสัญญากับ ตนเองวา ผมจะทุมเททุกอยางทั้งเงินลงทุนและความพยายามเพื1อชวยให บริษัทนี้ประสบความสําเร็จใหได หลังจากนั้นราวหนึ่งป กูเกิลไดปกธงในดาน “การจัดการขอมูลของ โลก และทําใหทุกคนสามารถเขาถึงและใชขอมูลนั้นใหเปนประโยชนได” นี่อาจจะฟงดูยิ่งใหญ แตผมมีความมั่นใจในตัว แลรรี่ เพจ และ เซอรเกย บริน พวกเขามีความมั่นใจในตนเองสูง จะเรียกวาหัวรั้นก็ ได แตพวกเขา ก็สนใจใครรูและเปนคนชางคิด พวกเขารับฟงความเห็นผูอื1นและสงมอบ ผลงานไดตามที่สัญญาไวเสมอ
23
เซอรเกยเปนคนฮึกเหิม ทําอะไรรวดเร็ว ดือ้ ดึง และสามารถกระโดด ขามชองวางทางสติปญญาได ในกาวเดียว เขาเปนผูอพยพที่เกิดในโซเวียต เขาฉลาดหลักแหลม เปนนักเจรจาที่สรางสรรค และเปนผูนําที่มีหลักการ เซอรเกยเปนคนไมชอบอยูก บั ทีห่ รือนิง่ เฉย เขาพยามผลักดันเพื1อทีจ่ ะไดมาก ขึ้นเสมอ เขาสามารถกระโดดลงไปวิดพื้นสักชุดหนึ่งระหวางการประชุมได แลรรเี่ ปนลูกชายของวิศวกรคอมพิวเตอร ในยุคบุกเบิก เขาพูดจานุม นวลแตก็ ไมคอ ยทําตามขนบธรรมเนียมของสังคม หัวกบฏ เขาสามารถทุม เท เพื1อใหไดผลลัพธ 10 เทา ซึ่งก็สามารถทําใหอินเทอรเน็ตเติบโตแบบกาว กระโดดไปโดยปริยาย โดยทีเ่ ซอรเกยเปนคนออกแบบเรื1องธุรกิจเทคโนโลยี แลรรี่เปนคนที่ทุมเท ทํางานหนัก และฝนถึงสิ่งที่เปนไปไมได เขาเปนนักคิด นอกกรอบแตก็อยูกับความเปนจริง ตนปนั้น เมื1อทั้งสองคนมาหาผมที่ออฟฟศเพื1อเสนอเงื1อนไขทาง ธุรกิจ การนําเสนอของพวกเขามีแค 17 สไลดเทานั้น และมีแค 2 สไลดที่ มีตัวเลข (พวกเขาใสการตูนมาดวย 3 สไลดเพื1อใหดูเหมือนมีเนื้อหาเยอะ) และถึงแมวาพวกเขาไดรับขอตกลงที่ไมใหญมากจาก Washington Post กูเกิลก็ยงั ไมสามารถทําใหคาํ สําคัญ (Keyword) มีคณ ุ คามากพอสําหรับการ โฆษณา ในฐานะที่เปนเสิรชเอ็นจินอันดับที่ 18 บนเว็บ บริษัทก็ถือวายังชา กวารายอื1นอยูมาก การยอมใหคูแขงออกตัวไปกอนไกลขนาดนี้ ในวงการ เทคโนโลยีมักจบลงดวยความลมเหลว* แตก็ไมมสี งิ่ ใดมาหยุดยัง้ แลรรจี่ ากการเลาใหผมฟงวาคุณภาพของเสิรช เอ็นจินเหลานัน้ หวยอยางไร มันจะดีกวานีอ้ ยางมากไดอยางไร และมันจะยิง่ ใหญมากๆ ไดอยางไรในวันขางหนา เขาและเซอรเกยไมลงั เลเลยวาจะสราง ความกาวหนาอยางยิง่ ใหญไดอยางไรทัง้ ทีพ่ วกเขายังไมมแี ผนธุรกิจเลยดวย ซํา้ นอกจากนี้ กลไก PageRank ทีก่ เู กิลเอาไว ใช ในการจัดอันดับเว็บไซตยงั * ขอยกเวนที่หาไดยากคือ การเปนดิสรับเตอรที่แทจริง Exhibit B : ไอพอด ซึ่งพัฒนาชากวาเครื1อง เสียงดิจิทัลอื1นๆ ถึง 9 รายในตลาด เพียงแค 3 ปก็กลับมาครอบครองสวนแบงการตลาดถึง 70%
24
ทําไดดีกวาคูแขงอื1นๆ ในตลาดอยางมาก แมวาซอฟตแวรจะอยูในขั้นตอน เบตาก็ตาม (ขั้นตอนเบตา คือขั้นตอนที่นําซอฟตแวรที่ออกแบบใหมไปให ผู ใชทวั่ ไปไดดาวน โหลดใชงานกอนทีจ่ ะเปดตัวอยางเปนทางการ โดยขัน้ ตอน เบตามีจุดมุงหมายเพื1อทดสอบการใชงานจริง รวมถึงรับฟงการตอบรับจาก ผู ใชงาน ซึ่งจะมีเพิ่มเติมฟงกชันการทํางานหรือลูกเลนได) ผมถามเขาวา “คุณคิดวามันจะยิ่งใหญไดขนาดไหน” ผมไดคํานวณ คราวๆ ในใจแลววา ถาทุกอยางเปนไปตามแผน กูเกิลนZาจะมีมูลคาตลาด (Market Cap) 1,000 ลานเหรียญ แตผมก็อยากทราบวาเขาฝนไวเทาไร และแลรรี่ตอบวา “10,000 ลานเหรียญ” เพื1อใหแนZใจ ผมจึงถามวา “คุณหมายถึงมูลคาในตลาดหลักทรัพย ใชไหม” และแลรรตี่ อบกลับทันควันวา “ไม ผมไมไดหมายถึงมูลคาหุน ในตลาด แตผมหมายถึง รายได”
แลรรี่ เพจ และ เซอรเกย บริน ที่บานเกิดของกูเกิล โรงรถของบานเลขที่ 232 ซานตามารการิตา, เมนโลพารก, ป 1999
25
ผมตะลึงงัน ถาคะเนอัตราการเติบโตแบบปกติของธุรกิจเทคโนโลยีที่ กําไรดี ถารายได 10,000 ลานเหรียญ แสดงวาตองมีมลู คาในตลาดประมาณ 100,000 ลานเหรียญ ซึ่งเทากับมูลคาของบริษัทไมโครซอฟต ไอบีเอ็ม และอินเทลเลยทีเดียว นั่นเปนสิ่งที่ทําไดยากกวาการเปนยูนิคอรนในธุรกิจ สตารต-อัพเสียอีก คําวา (ยูนิคอรน หมายถึง ธุรกิจสตารต-อัพที่มี มูลคาบริษัทมากวา 1,000 ลานลานเหรียญ) ผมไมได โวยวายใสแลรรี่ แตสงบนิง่ เพื1อครุน คิดพิจารณา ผมไมได โตแยงอะไรกับเขาเลย แตผมรูส กึ ประทับใจอยางยิ่ง เขาและเซอรเกยมุงมั่นที่จะเปลี่ยนแปลงโลก และผม เชื1อวาเขามีโอกาสนั้น กอนยุคจีเมล, แอนดรอยด หรือโครม กูเกิลมีไอเดียใหญๆ มากมาย ผูกอตั้งเปนคนที่มีวิสัยทัศนที่ยาวไกลเต็มเปยมไปดวยพลังของการเปนผู ประกอบการ พวกเขาขาดแคเพียงประสบการณ ในการบริหารจัดการเทานัน้ 1 เพื1อที่จะใหกูเกิลออกตัวไดเร็วปานจรวดและสรางผลสําเร็จที่แทจริง เขาจะ ตองเลือกเสนทางเดินทีท่ า ทายมากๆ และตองทําใหทมี ของเขาเดินไปในบน เสนทางเดียวกัน ถึงแมพวกเขาพรอมที่จะเสี่ยง แตเขาก็ควรจะมีแนวทาง ปองกันความลมเหลวไวดวยเชนกัน2 อยางนอยที่สุด พวกเขาก็ตองมีขอมูลที่เกี่ยวของและทันเวลา เพื1อที่ จะไดติดตามความกาวหนาสําหรับการวัดผลสิ่งที่สําคัญ และในวันที่เมาเทนวิวมีอากาศปลอดโปรง ผมมาพรอมกับของขวัญ สําหรับกูเกิล มันคือเครื1องมือทีเ่ ฉียบคมสําหรับการบริหารระดับโลกทีผ่ มเริม่ ใชมันครั้งแรกในป 1970 สมัยที่เปนวิศวกรที่บริษัทอินเทล ซึ่งเปนบริษัทที่ 1
ในป 2011 ผูกอตั้ง (แลรรี่และเซอรเกย) ไดทําตามคําแนะนําของผมดวยการสรรหา อีริก ชมิดต อดีตเพื1อนรวมงานของผมจากบริษทั ซันไมโครซิสเต็มส มาเปน CEO อีรกิ ทําใหรถไฟขบวนนีเ้ ริม่ ออก เดินทาง และทําลายความสัมพันธบางอยางไป หลังจากนัน้ ผมไดแนะนําให บิลล แคมปเบลล มาเปน โคชใหกับทั้ง 3 คนนี้ 2 ผมเรียนรูเรื1องนี้จากอินเทลในชวงป 1970 กอรดอน มัวร บุคคลในตํานาน และ แอนดี้ โกรฟ CEO แหงอินเทล กลาววา “ผมมองความลมเหลวในปนี้เปนโอกาสที่จะไดลองอีกครั้งในปหนา”
26
แอนดี้ โกรฟ ผูจัดการที่ยิ่งใหญและเปนผูบริหารแหงยุคที่ดีที่สุดเทาที่ผม เคยเห็นมา และตั้งแตไดรวมงานกับ ไคลเนอร เพอรคินส จากบริษัทรวม ทุน (VC) แหงเมนโลพารก ผมก็ ไดเผยแพรลทั ธิการบริหารจัดการแบบโกรฟ นี้ออกไปใหแกบริษัทตางๆ มากกวา 50 แหง ผมมีปรัชญาในการลงทุนทีช่ ดั เจนคือ ผมใหความเคารพแกผปู ระกอบ การ แตผมก็ติดนิสัยคนเทคโนโลยีที่บูชานวัตกรรม แตในขณะเดียวกัน ผม ก็ ไดเห็นธุรกิจสตารต-อัพจํานวนมากตองพยายามและฟนฝาความทาทาย มากมาย ตลอดจนการทําในสิ่งที่ถูกตอง เพื1อใหการเติบโตเปนไปตามแผน ดวยเหตุผลแบบนี้ ผมจึงกลับมาใชคาถาประจําตัวที่ผมใชมาตลอดชีวิต คือ
“ไอเดียดีๆ น"ะใครก็มีได แตการลงมือทําซิแน"กวา” ชวงตนของทศวรรษที่ 1980 ผมใชเวลา 14 เดือนเพื1อลาพักรอนยาว จากบริษทั ไคลเนอร (บางองคกรใหพนักงานทีม่ อี ายุงานนาน เชน ทํางานเกิน 7 ป สามารถพักรอนยาวเปนปโดยไดรับค าจาง) เพื1อไปชวยพัฒนา แผนกคอมพิวเตอรตั้งโตะ (เดสกทอป) ของบริษัทซันไมโครซิสเต็มส และผมตกใจมากที่เพิ่งรู ในตอนนั้นวาผมตองไปทําหนาที่เปนหัวหนาดูแล พนักงานตั้งหลายรอยคน แตระบบของ แอนดี้ โกรฟ ก็ทําใหผมยืนหยัด ไดทามกลางปญหาใหญๆ และสามารถสรางความชัดเจนได ในทุกการ ประชุม มันชวยใหผมกระจายอํานาจลงไปยังทีมบริหารและทีมปฏิบัติ การทั้งหมดได ใช เราผิดพลาดดวยกัน แตเราก็ประสบความสําเร็จใน หลายๆ เรื1อง เชน การพัฒนาไมโครโปรเซสเซอรชนิดหนึ่งที่ใชชุดคําสั่ง จํานวนนอยที่เรียกวา RSC (Reduced Instruction Set Computer คือ การพัฒนาไมโครโปรเซสเซอรชนิดหนึ่งที่ใชชุดคําสั่งจํานวนนอย) ถือเปน นวัตกรรมใหม และชวยทําใหซันเปนผูนําในตลาดคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ ที่ใชทํางานแบบเครือขายได (Workstation) และนี่เปนจุดพิสูจนที่ผมไดนํา เอาระบบนี้เขามาใช ในกูเกิลในหลายปตอมา
27
สิง่ ทีผ่ มไดเรียนรูจ ากอินเทล มีสว นชวยใหผมสามารถผานการทํางาน ที่ซันมาได และยังเปนแรงบันดาลใจใหผมจนถึงทุกวันนี้คือ OKRs ซึ่งคําวา OKRs ยอมาจาก Objectives and Key Results (ภาษาไทยเรียกวา วัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญ) มันเปนกระบวนการที่อธิบายถึงการ กําหนดเปาหมายองคกร เปาหมายของทีม และเปาหมายรายบุคคล OKRs ไมใชยาวิเศษที่สามารถแกปญหาไดทุกอยาง เพราะมันไมสามารถเขาไป ทดแทนการใชดุลยพินิจได ไมสามารถเขาไปแทนภาวะผูนําได หรือไม สามารถเขาไปทดแทนวัฒนธรรมการทํางานได แตถาองคกรมีสิ่งเหลานี้ อยูแลว OKRs ก็จะเขาไปชวยนําทางใหคุณสามารถขับเคลื1อนองคกรขึ้น ไปสูเปาหมายที่สูงสุดได แลรรแี่ ละเซอรเกยรว มกับ มาริสสา เมเยอร, ซูซาน วอจซิกกี้ และ ซาลาร คาแมนการ และอีกราว 30 คน ซึ่งก็เกือบทั้งบริษัทแลวในขณะนั้น มารวม กันเพื1อฟงผม พวกเขายืนรอบโตะปงปอง (ซึ่งใหญเปนสองเทาของโตะใน หองประชุมของคณะกรรมการ) นั่งระเกะระกะกันบนเกาอี้บีนแบ็ค (เกาอี้ บีนแบ็ค เปนเกาอีร้ ปู หยดนํา้ ทีเ่ อาถัว่ มาใสในกระสอบและทําเปนเกาอีน้ งั่ ได เหมือนกับที่นั่งที่ใสเม็ดโฟมในปจจุบัน) คลายๆ กับเกาอี้ในหอพักนักศึกษา สไลดเพาเวอรพอยตหนาแรกของผมอธิบายความหมายของ OKRs วาเปน วิธกี ารบริหารจัดการทีช่ วยใหมนั่ ใจวาทุกคนในองคกรไดทมุ เทการทํางานไป ที่เรื1องที่สําคัญขององคกรเหมือนกัน สําหรับเรื1อง วัตถุประสงค (Objective) ผมไดอธิบายงายๆ วามันคือ สิ่งที่จะตอบคําถามที่วาเราตองการทํา “อะไร (What)” ใหสําเร็จได โดยที่ เรื1องนัน้ ตองไมยากหรืองายจนเกินไป วัตถุประสงคทดี่ ตี อ งเปนเรื1องทีส่ าํ คัญ ตองเปนรูปธรรมจับตองได ตองเปนไปได ในทางปฏิบตั ิ และถาจะใหดที สี่ ดุ ก็ ตองทําใหเกิดแรงบันดาลใจใหกับคนทํางานไดดวย ถามีการออกแบบระบบ การกระจายวัตถุประสงคองคกรลงไปยังระดับตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ แลว มันเปรียบเสมือนวัคซีนทีจ่ ะชวยปองกันโรคความสับสนทัง้ ในเรื1องความ คิดและวิธีการทํางานของคนในองคกรได
28
Key Results แปลวา “ผลลัพธทสี่ าํ คัญ” เปนสวนกําหนดมาตรฐาน และการตรวจสอบวาเราจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคไดอยางไร คือเราจะ รูไดอยางไร วัดจากอะไรเพื1อใหมั่นใจวาจะทําใหบรรลุตามวัตถุประสงคที่ กําหนดไว สําหรับคุณลักษณะของผลลัพธที่สําคัญคือ ตองเฉพาะเจาะจง (คือมีความชัดเจนวาจะวัดจากอะไร) มีการกําหนดระยะเวลาแนZนอน ตอง ทาทายแตอยูในวิสยั ทีเ่ ปนไปได และทีส่ าํ คัญคือตองสามารถวัดไดและตรวจ สอบได เหมือนกับที่ มาริสสา เมเยอร พูดไววา “ถายังวัดเปนตัวเลขไมได แสดงวาไมใชผลลัพธทสี่ าํ คัญ” (มาริสสา เมเยอร เปนผูบ ริหารทีเ่ กงคนหนึง่ ของกูเกิล ตอนหลังไดไปเปน CEO ของยาฮู) ไมวาคุณจะบรรลุเปาหมาย หรือไมบรรลุกต็ าม แตผลลัพธทสี่ าํ คัญจะตองไมมสี ว นที่ไมเคลียร ไมชดั เจน และเมื1อสิ้นสุดการดําเนินงานแลวไมมีขอสงสัยใดๆ โดยปกติจะทําเปนราย ไตรมาส เราจะประกาศผลใหทุกคนรับทราบกันไมวาผลนั้นจะไดหรือไมได ตามเปาหมายที่กําหนดไวก็ตาม วัตถุประสงคสามารถกําหนดและทําตอได ในระยะยาวเปนปหรือมากกวา หนึ่งป ในทางกลับกัน ผลลัพธที่สําคัญจะมีวิวัฒนาการหรือเปลี่ยนแปลงไป ตามขั้นตอนการทํางาน ผลลัพธที่สําคัญจะเปนตัวสะทอนใหเห็นถึงความ คืบหนาของวัตถุประสงคนั้นๆ เมื1อผลลัพธที่สําคัญในทุกระยะเวลาสําเร็จ แสดงวาวัตถุประสงคระยะยาวขอนั้นก็ควรจะสําเร็จไปดวย (แตถาไมบรรลุ วัตถุประสงค แสดงวา OKRs นั้นออกแบบมาไมดีตั้งแตตอนแรก) สําหรับวัตถุประสงคที่ผมไดพูดกับคนรุนใหมของชาวกูเกิลคือ “การ สรางโมเดลการวางแผนใหกับบริษัท” โดยการวัดผลลัพธที่สําคัญๆ เพียง 3 เรื1องคือ ผลลัพธ # 1 : ผมจะจบการนําเสนอในเวลา ผลลัพธ # 2 : เราจะสรางชุดตัวอยาง OKRs รายไตรมาสของกูเกิล ผลลัพธ # 3 : ผมตองการคํามั่นสัญญาจากทีมบริหาร สําหรับการ ทดลองใช OKRs เปนเวลา 3 เดือน
29
ในระหวางการบรรยายครัง้ นี้ ผมไดวาดภาพประกอบโดยยกตัวอยาง สองเรื1องคือ เรื1องแรก เปนเหตุการณทผี่ จู ดั การทีมฟุตบอลกระจายวัตถุประสงค ของทีมลงไปสูผ เู ลนทุกคนทีอ่ ยูในแผนผังการเลน สวนเรื1องทีส่ องคือ เปรียบ เสมือนผมกําลังนัง่ ดูละครแถวริงไซด โดยทีเ่ นือ้ หาของละครสุดแสนจะดรามา มากๆ นั่นก็คือตอนที่ผมทํางานที่อินเทล ซึ่งมีการตอตานแบบสุดๆ จาก ฝายปฏิบัติการกับแผนการตลาดในการทวงคืนความเปนผูนําดานไมโคร โปรเซสเซอรกลับคืนมา (เราจะเลาอยางละเอียดตอไป) ผมจบการนําเสนอดวยการเนนยํ้าและทบทวนเกี่ยวกับคุณคาที่นํา เสนอใหแกลูกคา (คุณคาทางการตลาด) ของกูเกิล ซึ่งเมื1อเทียบกับปจจุบัน แลวก็ ไมไดนZาสนใจนอยลงแตอยางใด OKRs เปนตัวชวยใหเปาหมายคุณ ชัดเจนและแมนยําขึ้น และยังเปนชองทางในการเสริมสรางความรวมมือ และความมุงมั่นในองคกร นอกจากนี้ OKRs มีหนาที่ในการเชื1อมโยงระบบ ปฏิบัติการที่ซับซอนเขาดวยกัน สรางเจตนารมณและความเปนอันหนึ่ง อันเดียวกันทั่วทั้งองคกร ผมหยุดพูดเมื1อถึงนาทีที่ 90 ตรงเวลาเปะ ถึงตอนนีก้ ข็ นึ้ อยูก บั กูเกิลแลว
ป 2009 สํานักพิมพฮารวารดบิสิเนสสคูลตีพิมพบทความหัวขอ “เปาหมายแบบสุดโตง (Goals Gone Wild)” พรอมกับชุดตัวอยางของการ ติดตามและไลลาเปาหมาย (Destructive Goal Pursuit) เชน การระเบิด ของถังนํ้ามันแรงดันของฟอรดพินโต การขายสงของศูนยซอมรถเซียรพุง สูงจนเกินพอดี หรือการเรงเปาหมายแบบไมสนใจอะไรของบริษัทเอ็นรอน โดยในป 1996 เหตุการณที่เขาเอเวอเรสตสงผลใหนักปนเขาเสียชีวิตถึง 8 คน ผูเ ขียนเตือนวา เปาหมายก็เหมือนยาขนานแรงทีต่ อ งไดรบั การดูแลอยาง ใกลชดิ สัง่ ยาอยางระมัดระวังทัง้ ปริมาณและระยะเวลาในการใชยา ขนาดที่ วาเขาเขียนปายเตือนวา “เปาหมายอาจกอใหเกิดปญหาใหกบั ระบบในองคกร
30
ได เนื1องจากมีความคิดและโฟกัสที่แคบลง มีพฤติกรรมไรซึ่งจรรยาบรรณ เพิ่มความเสี่ยง ขาดความรวมมือ และขาดแรงบันดาลใจในการทํางาน” สําหรับดานมืดหรือผลกระทบเชิงลบของการตัง้ เปา อาจจะทําใหผลประโยชน ที่ควรจะไดรับจมหายลงไปในนํ้า ซึ่งเหมือนกับการทําแลวอาจสูญเปลาได นี่คือขอโตแยงของพวกเขา
คําเตือน! เปาหมายอาจกอใหเกิดปญหากับระบบในองคกรได เนื1องจากมีความคิดและโฟกัสที่แคบลง มีพฤติกรรม ไรซึ่งจรรยาบรรณ เพิ่มความเสี่ยง ขาดความรวมมือ และขาดแรงบันดาลใจในการทํางาน กรุณาระมัดระวัง เมื1อนําเอาการกําหนดเปาหมายเขามาใช ในองคกร
บทความเชิงเตือนบทนี้ยังคงเปนที่กลาวและอางอิงจนถึงปจจุบันนี้ เห็นไดชัดเจนวานอกจากจะเปนคําเตือนแลวยังคงแฝงดวยคุณธรรมและ ขอดีอยูด ว ย เฉกเชนเดียวกับระบบการบริหารจัดการอื1นๆ OKRs อาจถูกนํา ไปใชและไดผลลัพธที่ดีหรือแยก็ ได วัตถุประสงคของหนังสือเลมนี้คือ การ ชวยใหคุณนํา OKRs ไปใช ใหเกิดผลลัพธที่ดี แตอยาเพิ่งเขาใจผิด เพราะ สําหรับใครก็ตามที่กําลังมองหาการเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานหรือยก ระดับผลงานใหสงู ขึน้ การตัง้ เปาหมายเปนสิง่ ทีม่ คี วามจําเปนเปนอยางมาก ป 1968 อินเทลเปดรานขึน้ มา เอ็ดวิน ล็อค อาจารยดา นจิตวิทยาจาก มหาวิทยาลัยแมรีแลนด ไดสรางทฤษฎีหนึ่งที่มีอิทธิพลตอ แอนดี้ โกรฟ อยางมากเอ็ดวิน ล็อค กลาววา ขอแรก “เปาหมายทีย่ าก (Hard Goals)” ชวยขับ เคลื1อนใหเกิดผลงานไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวาเปาหมายทีง่ า ยๆ ขอทีส่ อง “เปาหมายยากที่ เฉพาะเจาะจงและชัดเจน” ชวยสรางผลลัพธ ในระดับ สูงมากกวาคําพูดที่คลุมเครือ
31
ชวงเวลาครึ่งศตวรรษ มีการศึกษามากกวา 1,000 เรื1องที่ยืนยันสิ่ง ทีล่ อ็ คคนพบวาเปนหนึง่ ในทฤษฎีที่ไดรบั การทดสอบและพิสจู นมากทีส่ ดุ ของ ทฤษฎีการบริหารจัดการทั้งหลาย ในระหวางการทดลองนําไปใชกับองคกร ผลปรากฏวา 90% ยืนยันวามีประสิทธิผล เนื1องจากไดรบั การสงเสริมสนับสนุน ใหมีการตั้งเปาหมายที่ชัดเจนและทาทาย ปแลวปเลา การสํารวจของแกลลอปเรื1อง “วิกฤติความผูกพันของ พนักงานทั่วโลก” พบวานอยกวา 1 ใน 3 ของพนักงานอเมริกันมีสวนรวม กระตือรือรน เอาจริงเอาจังกับงานและองคกร สวนที่ไมมีสวนรวมอีกเปน ลานคนนั้น และในสวนนี้มีจํานวนมากกวาครึ่งอาจจะลาออกไปถาไดเงิน เดือนเพิม่ ขึน้ 20% หรือตํา่ กวานีบ้ างคนก็ ไปแลว สําหรับในวงการเทคโนโลยี นั้นพนักงาน 2 ใน 3 คนคิดวาพวกเขาสามารถหางานที่ดีกวางานปจจุบันได ภายในเวลา 2 เดือนเทานั้น ในองคกรธุรกิจ การที่พนักงานไมรักและไมผูกพันกับองคกร ไมใช ปญหาในเชิงแนวคิดทีเ่ ปนเพียงวิชาการเทานัน้ แตมนั สงผลถึงผลกําไรของ บริษทั เลยทีเดียว พนักงานทีม่ คี วามผูกพันกับองคกรสูง จะเปนคนทีท่ าํ กําไร ใหบริษทั มากและทําใหเกิดความเสียหายนอย ดีลอยตเปนบริษทั ทีป่ รึกษาดาน การบริหารจัดการและผูน าํ ไดระบุวา “การรักษาใหคงอยูแ ละการมีสว นรวม ของพนักงานไดขนึ้ มาเปนอันดับสองในใจของผูน าํ เปนรองเพียงเรื1องความ ทาทายในการสรางผูนําระดับโลก” แลวเราจะสรางความผูกพันของพนักงานได อยางไร นัน้ ทางดีลอยต ไดทําการศึกษาเรื1องนี้นานถึงสองป และพบวาความผูกพันของพนักงานตอ องคกรไมไดมปี จ จัยไหนมีผลมากไปกวาเรื1อง “การกําหนดเปาหมายทีช่ ดั เจน เปนลายลักษณอักษร และประกาศใหทุกคนทราบ เพราะเปาหมายแบบนี้ จะชวยใหเกิดการทํางานรวมกัน และสงผลทําใหเกิดความพึงพอใจในการ ทํางานของพนักงานอีกดวย”
32
การตัง้ เปาหมายไมใชการมีเกราะปองกันเสมอไป (Bulletproof) “เมื1อ คนในองคกรมีความขัดแยงกันในเรื1องการใหความสําคัญของเปาหมาย รวม ถึงการมีเปาหมายที่ไมชัด คลุมเครือ ไรความหมาย หรือถูกตั้งขึ้นมาแบบไร เหตุผล สิง่ เหลานีจ้ ะทําใหพนักงานในองคกรเกิดความเบื1อหนZาย สับสน และ ไมอยากทํางานในที่สุด” ระบบการบริหารจัดการเปาหมายที่มีประสิทธิภาพ อยางเชน ระบบ OKRs จะชวยเชื1อมโยงเปาหมายไปยังทีมงานเพื1อชวยให เขามองเห็นภาพที่กวางขึ้น นอกจากนี้ OKRs ยังชวยใหทุกคนรักษาคํามั่น สัญญาในเรื1องการทํางานเสร็จตามเวลาทีก่ าํ หนด และเขาสามารถปรับเปลีย่ น วิธีการทํางานใหเหมาะสมกับสถานการณ ได ในขณะเดียวกัน ระบบนี้จะ ชวยสงเสริมใหเกิดพูดคุยกันเพื1อสะทอนความคิดเห็นความรูสึกซึ่งกันและ กัน (Feedback) และรวมฉลองความสําเร็จไปดวยกันไมวาความสําเร็จนั้น จะเล็กหรือใหญ และที่สําคัญที่สุด ระบบนี้จะชวยทําใหเราสามารถขยายขีด จํากัดของทีมงานเพื1อใหเราสามารถทําเปาหมายที่ยากๆ ขึ้นไปไดอีก แมแต “การตัง้ เปาหมายแบบสุดโตง” ทีห่ ลายคนยอมรับวาเปนเรื1อง ที่กดดันก็ตาม แตเปาหมายแบบนี้ก็สามารถสรางแรงบันดาลใจใหพนักงาน และยกระดับผลงานได และนี่ก็คือใจความสําคัญที่ผมไดบอกแลรรี่และ เซอรเกยและบริษัทของเขา เมื1อผมไดเปดเวทีสําหรับคําถาม ผูฟงของผมสนใจกันมาก ผมคิด วาพวกเขาคงจะลองให โอกาส OKRs บาง ถึงแมผมจะไมสามารถคาดเดา ผลลัพธเชิงลึกไดก็ตาม เซอรเกยกลาววา “เราจําเปนตองมีหลักการ แตเรา ไมมอี ะไรสักอยางในตอนนี้ และ OKRs อาจจะเปนสิง่ ทีเ่ หมาะสมสําหรับเรา” การรวมหอลงโรงระหวางกูเกิลกับ OKRs ก็คือความเปนไปไดทุกอยางแต ไมใชการสุมแบบบังเอิญ เราเปนคูที่เหมาะสมกันมากและจะถอดรหัสเรื1อง นี้ใหกลายเปนพันธุกรรมของเราที่เรียกวาสู RNA ของกูเกิลแมสเซนเจอร OKRs มีความยืดหยุนในการทํางาน เปนเครื1องมือที่รองรับขอมูลไดหลาย
33
ทิศทาง เหมาะกับองคกรที่ใหความสําคัญกับขอมูลจริงๆ1 พวกเขาใหคาํ สัญญา ทีจ่ ะทําทุกอยางให โปรงใส ไมวา เรื1องการเปดเผยขอมูลระบบการทํางานและ เว็บไซต ทั้งหมดนี้ถือเปนรางวัล “ความลมเหลวที่ดี (Good Fails)” สําหรับ นักคิดที่กลาหาญที่สุดของทั้งสองคนในยุคนั้น กูเกิลพบกับ OKRs ถือเปนสิ่งที่เหมาะสมลงตัวมากที่สุด
ขณะที่แลรรี่และเซอรเกยมีความรูเพียงนอยนิดในการทําธุรกิจ เขา รูเพียงวาการเขียนเปาหมายลงไปจะชวยใหเรื1องนั้นเปนจริงขึ้นมาได2 พวก เขาชอบการเขียนลงไปใหเห็นวาอะไรคือสิง่ สําคัญทีส่ ดุ สําหรับพวกเขา เขียน แบบสั้นๆ และชัดเจนลงในกระดาษ 1-2 หนา และประกาศใหทุกคนที่กูเกิล ไดรับทราบ พวกเขารับเอา OKRs ไปใช โดยไมมีขอกังขาใดๆ และเชื1อมั่น วาสิง่ นีจ้ ะทําใหเขาอยูในการแขงขันและอยูในกราฟขาขึน้ ทีส่ งู ชันมากเหมือน รูปไมฮอกกี้ ได อีริก ชมิดต ซึ่งเปน CEO ของกูเกิลในอีก 2 ปตอมา ไดรวมมือกับ แลรรี่และเซอรเกยยืนกรานวาจะใช OKRs โดยไมมีขอกังขาใดๆ ดังที่อีริก ไดบอกกับ สตีเวน ลีวี่ วา “วัตถุประสงคของกูเกิลคือ นวัตกรผูสรางระบบ ที่ยิ่งใหญที่สุด (Systematic Innovator of Scale) นวัตกรหมายถึงสิ่งใหมๆ สเกลคือใหญ และระบบที่จะชวยนําพาไปสูความสําเร็จที่สามารถทําใหเกิด ผลลัพธซํ้าๆ ไดอีก ดวยความรวมมือรวมใจของทั้ง 3 ทหารเสือ จึงทําให เปนสวนผสมทีล่ งตัว ทําใหเกิดความสําเร็จในการใช OKRs ที่ชัดเจนเพราะ ผูบริหารสูงสุดลงยอมรับและศรัทธาระบบนี้กอน
1 2
เหมือนที่ สตีเวน ลีวี่ ไดเขียนไว ใน In the Plex วา “ดัวรมีกูเกิลเปนตัววัดผล” ในชวงเริ่มแรก กูเกิลพึ่งพาขอมูลที่เรียกวา snippets คือ รายงานสั้นๆ แบบ 3-4 บรรทัดสําหรับ การทํางานของแตละคน
34
ในฐานะนักลงทุน ผมอยากจะใช OKRs เหมือนที่กูเกิลและอดีตคน ที่เคยทํางานกับอินเทลเริ่มนําออกไปใชและพูดถึงระบบนี้ในทางที่ดี บริษัท หลายรอยแหงที่มีลักษณะแตกตางกันทั้งประเภทและขนาดของธุรกิจ ลวน แลวแตเอาจริงเอาจังกับการกําหนดเปาหมายอยางมีแบบแผน OKRs จึงเปรียบเสมือนมีดแมกไกเวอร (มีดแมกไกเวอรคือ มีดพับ Swiss Army knives ที่มีอุปกรณหลายๆ ชิ้นอยูในเลมเดียวกัน) ที่เหมาะกับ ทุกสถานการณ เราเห็นการนําไปใชอยางกวางขวางในวงการเทคโนโลยี ซึง่ เปนวงการทีท่ าํ งานกันดวยความรวดเร็วและมีทมี เวิรก ทีย่ อดเยีย่ ม (และ อีกหลายบริษัทที่จะไดอานจากหนังสือเลมนี้ ผูที่นํา OKRs ไปใชยังรวมถึง บริษัทตางๆ เชน AOL, ดรอปบ็อกซ, ลิงกอิน, ออเรเคิล, สแลค, สปอติฟาย และทวิตเตอร) ระบบนีย้ งั ไดนาํ ไปปรับใช ในวงการที่ไกลออกไปจากซิลคิ อน วัลเลยอีก เชน แอนเฮาเซอร-บุช, BMW, ดิสนีย เอ็กซซอน, ซัมซุง สําหรับ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในทุกวันนี้ถือเปนเรื1องปกติธรรมดา เราไม สามารถมั่นใจไดวาระบบอะไรที่ใชไดผลและเปนระบบที่ดีที่สุด เราตองการ เครื1องมือที่ชวยใหเราบุกและเดินลุยกับปญหาและอุปสรรคในระหวางเสน ทางเพื1อใหเราเดินตามเสนกราฟเปาหมายที่เรากําหนดเอาไว สําหรับสตารต-อัพขนาดเล็ก จําเปนตองมีเครื1องมือทีจ่ ะทําใหอยูร อด ได ดังนั้น การนํา OKRs มาใชถือเปนเรื1องสําคัญและจําเปน เพราะมันจะ ชวยใหคนในองคกรเดินไปในทิศทางเดียวกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งในวงการ เทคโนโลยี บริษัทที่เพิ่งเริ่มตนจะตองเติบโตอยางรวดเร็วเพื1อที่จะไดรับเงิน ทุนสนับสนุน (Funding) กอนทีเ่ งินลงทุนของตนเองจะหมดลง เปาหมายทีม่ ี โครงสรางดีจะชวยใหมหี มุดหมาย (Backers a Yardstick) ของความสําเร็จ ที่ชัดเจน เรากําลังสรางผลิตภัณฑนี้ และเราตรวจสอบความตองการของ ตลาดโดยพูดคุยกับลูกคา 25 รายแลว และนี่คือราคาที่พวกเขาพรอมจาย
35
สวนในองคกรขนาดกลางทีเ่ ติบโตอยางรวดเร็ว OKRs คือภาษาสากล ที่จะชวยใหทุกคนมีสวนรวมกับการทํางานในองคกร เพราะ OKRs แสดง ใหเห็นถึงความคาดหวังที่จับตองไดอยางชัดเจน เชน อะไรคือสิ่งที่พวกเรา ตองทําใหสาํ เร็จอยางเร็ว และใครเปนคนลงมือทําเรื1องนี้ใหเปนจริง ระบบนี้ จะทําใหพนักงานทํางานสอดคลองกันทั้งในแนวตั้ง (ระดับบนกับระดับลาง) และแนวนอน (ในระดับเดียวกันแตตางหนZวยงาน) สําหรับองคกรขนาดใหญ OKRs เปรียบเสมือนปายไฟนีออนบนถนน มันทําลายโครงสรางแบบไซโล และมาสรางความรวมมือแบบไรขอบเขต ระหวางคนทํางานทั่วทั้งองคกร โดยใหอํานาจกับหนZวยงานที่ทํางานที่หนา งาน เพราะพวกเขาคือคนที่จะทําใหเกิดแนวทางสูความสําเร็จแบบใหมๆ และพวกเขาก็ยังชวยรักษาและขยายความสําเร็จออกไปอีก ประโยชนคลายๆ กันเกิดขึ้นในองคกรที่ไมไดหวังผลกําไรดวย อยาง มูลนิธิบิลลและเมลินดา เกตส ที่เริ่มตนดวยเงินทุนมูลคา 20,000 ลาน เหรียญ ก็ ไดนําเอา OKRs มาใช ในการรายงานผลขอมูลแบบเรียลไทม ให กับ บิลล เกตส ผูที่ประกาศสงครามกับมาลาเรีย โปลิโอ และ HIV ซิลเวีย แมทิวส เบอรเวลล อดีตคนทํางานมูลนิธิเกตส สรางระบบการสงขอมูลให สํานักงานการจัดการและงบประมาณ หลังจากนั้นขอมูลนี้ก็ถูกสงตอไปยัง กระทรวงสาธารณสุขและการบริการมนุษย และในที่สุดขอมูลเหลานี้ก็ ได ชวยใหรัฐบาลสหรัฐอเมริกานําไปใชกับการตอสูกับอีโบลาตอไป คงไมมีองคกรไหนแมแตอินเทลที่ได ใช OKRs ในวงกวางและมี ประสิทธิภาพเทากับกูเกิลอีกแลว แมวาดูผิวเผินแลวแนวคิดของ แอนดี้ โกรฟ ดูเรียบงายไมซับซอน แตในความเปนจริงแลวระบบนี้ตองการความ เขมงวด ตองการคํามั่นสัญญา ตองมีความคิดที่ชัดเจน และความมุงมั่น เต็มใจกับระบบการสื1อสารมากเลยทีเดียว พวกเราไมไดแคเขียนหัวขอขึ้น มาแลวก็ตรวจสอบซํ้าแคสองครั้งเพื1อดูวาอะไรถูกอะไรผิดเทานั้น (คําพูดนี้
36
เหมือนเนื้อหาในเพลง Santa Claus is coming to town ซานตาคลอสที่ พูดถึงคือ การทํารายชื1อเด็กวาเด็กคนไหนเปนเด็กดี และตรวจสอบรายชื1อ ซํา้ 2 ครัง้ ) แตมนั เปรียบเสมือนกับการทีเ่ ราตองการสรางมัดกลามเนือ้ ทีแ่ ข็ง แรงและสวยงาม แนZนอนวาบางครัง้ เราก็ตอ งผานความเจ็บปวดกันบางแต มันก็คุมคา แตผูนําของกูเกิลก็ ไมเคยลังเลหรือลดละความพยายามในการ เรียนรูและการพัฒนาอยางไมมีที่สิ้นสุด อีริก ชมิดต และ โจนาทาน โรเซนเบิรก ตั้งขอสังเกตในหนังสือ How Google Works วา OKRs ไดกลายเปนเครื1องมือที่เรียบงายที่ชวย ใหผูกอตั้งองคกรนี้คิดการใหญ (เพราะผูกอตั้งเปนคนที่มีบุคลิกนZาเชื1อถือ และพูดจาแลวผูอื1นรูสึกคลอยตามไดงาย) ในชวงเริ่มตนของกูเกิล แลรรี่ เพจ จัดสรรเวลาสองวันตอไตรมาสเพื1อมานั่งดูและทบทวน OKRs ใหกับ วิศวกรดานซอฟตแวรแตละคนอยางใกลชิด (ผมไดนั่งอยูกับเขาหลายครั้ง และยังประทับใจไมรูลืมกับความเกงกาจของแลรรี่โดยเฉพาะการหาความ สัมพันธแบบเชื1อมโยงของสวนตางๆ เขาดวยกันไดอยางดี) ถึงแมบริษัท จะขยายใหญขึ้นไปเรื1อยๆ แลรรี่ก็ยังเริ่มตนการกําหนดเปาหมายในแตละ ไตรมาสดวยตนเอง เขาใชเวลายาวนานมากสําหรับการพูดคุยถกเถียงเพื1อ หาขอสรุปเกี่ยวกับวัตถุประสงคของทีมงานของเขา ถานับตั้งแตวันที่ผมไดนําเสนอ OKRs บนโตะปงปองใหพวกเขาฟง ถึงวันนี้ก็เปนเวลาเกือบสองทศวรรษที่ OKRs ไดกลายเปนสวนหนึ่งในชีวิต ประจําวันของกูเกิลไปแลว การเติบโตของบริษทั ทําใหการทํางานมีความซับซอน มากขึน้ ซึง่ ผูน าํ ของบริษทั สามารถเปลีย่ นแปลงระบบการบริหารองคกรหรือนํา OKRs ไปใชเฉพาะกรณีก็ได แตมนั ไมไดเปนเชนนัน้ เพราะพวกเขายังเปนผูท าํ ระบบและอยูในระบบนีอ้ ยู OKRs เปนระบบทีม่ ชี วี ติ ชีวา ระบบนีช้ ว ยยกระดับ กูเกิลใหสรางความสําเร็จแบบชนิดโฮมรันหรือมวนเดียวจบ (วิง่ แบบโฮมรัน คือ การวิง่ ในกีฬาเบสบอลทีผ่ เู ลนวิง่ ทีเดียวครบรอบเสนฐานไปเลย แตในการ
37
แขงขันเบสบอลมีโอกาสเกิดแบบนี้ ไดนอ ยมาก) กับผลิตภัณฑถงึ 7 ชนิดทีม่ ี ผู ใชถงึ หลักพันลานคนในแตละผลิตภัณฑ เชน เสิรช โครม แอนดรอยด แผนที่ ยูทูบ กูเกิลเพลย และจีเมล ในป 2008 กูเกิลทั้งบริษัทไดทํา OKRs รวมกัน เกีย่ วกับระบบการเตือนเวลาทีม่ คี วามลาชาในการโหลดขอมูลจากคลาวดลงมา ซึง่ เปนสิง่ ทีท่ กุ คนในกูเกิลไมอยากใหเกิดขึน้ เขาเรียกระบบนีว้ า “Code Yellow” มีไวเตือนเพื1อใหสามารถเขาไปจัดการกับปญหาไดทันที ในการทํา OKRs เราใหเวลาประมาณ 20% ใหพนักงานนําเสนอขึ้นมาที่เรียกวาจากลางขึ้น บน (Bottom-up) โดยใหวิศวกรทั่วไปนําเสนอแนวทางในการสรางพันธ สัญญารวมกันกับโครงการที่เกี่ยวของ หลายบริษัทมีกฎเลขเจ็ด คือจํากัดใหผูจัดการมีผู ใตบังคับบัญชา โดยตรงไมเกิน 7 คน ในบางกรณี เชน กูเกิลไดพลิกกฎนี้ ไปอีกดานหนึ่ง ดวยการสรางใหเปนอยางนอย 7 คนขึ้นไป (สมัยที่ โจนาทาน โรเซนเบิรก เปนหัวหนาทีมผลิตภัณฑที่กูเกิล เขามีผู ใตบังคับบัญชาถึง 20 คน) ยิ่งมี จํานวนลูกนองมากเทาไหร ยิ่งทําใหองคกรแบนราบมากขึ้นเทานั้น (จํานวน ระดับชั้นของการบังคับบัญชานอยลง) ซึ่งหมายความวาจะมีการดูแลจาก บนลงลางนอยลง คนทํางานที่หนางานมีอํานาจและอิสระในการทํางานมาก ขึ้น เปรียบเสมือนวาจะยิ่งมีปุยมากขึ้นเทาไหร ยิ่งทําใหผลผลิตเพิ่มมากขึ้น เทานั้น ซึ่งระบบ OKRs สามารถชวยใหสิ่งดีๆ แบบนี้เกิดขึ้นได เดือนตุลาคม ป 2018 จะเปนไตรมาสที่ 75 ตอเนื1องกัน ที่ CEO ของ กูเกิลจะใหคนทัง้ องคกรมีสว นรวมกับประเมินความกาวหนาของวัตถุประสงค และเปาหมายของผลลัพธที่สําคัญที่ผูบริหารระดับสูงกําหนดไว โดยที่ใน เดือนพฤศจิกายนและธันวาคมจะใหแตละทีมและแตละกลุมผลิตภัณฑจัด ทําแผนพัฒนางานของตนเองสําหรับปถดั ไป และกําหนดออกมาเปน OKRs ซันดาร พิชัย ซึ่งเปน CEO บอกผมวา ในเดือนมกราคม “เราจะกลับไปยืน อยูตอหนาพนักงานทุกคนเพื1อประกาศวา นี่คือกลยุทธขององคกรและนี่คือ
38
OKRs ที่พวกเราเขียนไว ในปนี้”* (อางถึงประเพณีปฏิบัติของบริษัท ที่คณะ ผูบริหารใหคะแนน OKRs ของกูเกิลในปที่ผานมาดวย รวมทั้งรายละเอียด ของความลมเหลวแบบชนิดไมกะพริบตาเลย) สัปดาหหรือเดือนตอจากนั้น ชาวกูเกิลนับพันคนจะกําหนด พูดคุย ทบทวน และใหคะแนน OKRs ของสวนบุคคลและทีม และเหมือนทุกครั้ง พวกเขามีสทิ ธิในการเปดดูในอินทราเน็ตวาทีมของพวกเขาจะถูกวัดความสําเร็จ อยางไร พวกเขาสามารถสืบคนไดวางานของเขาถูกเชื1อมโยงกับเปาหมาย ระดับทีส่ งู กวา ตํา่ กวา หรือเปาหมายในระดับเดียวกันอยางไร และเปาหมาย นั้นเชื1อมโยงกับภาพใหญของกูเกิลอยางไร ราวๆ 20 ปตอมา การคาดการณที่สูงสงของแลรรี่ดูจะเปนเรื1องปกติ ไปแลว เมื1อผูสื1อขาวรายงานวา อัลฟาเบตซึ่งเปนบริษัทแมมีมูลคาตลาด เกิน 7 แสนลานเหรียญ ซึ่งถือเปนบริษัทที่ใหญที่สุดอันดับสองของโลก ในป 2017 เปนปที่ 6 ติดตอกันแลวที่กูเกิลติดอันดับหนึ่งในนิตยสาร Fortune ในดานบริษทั ทีด่ ที สี่ ดุ ในโลกทีค่ นอยากทํางานดวย ความสําเร็จอยาง สูงสงนีม้ รี ากฐานจากความเปนผูน าํ ทีเ่ ขมแข็งและมีเสถียรภาพ มีทรัพยากร ดานเทคนิคที่ลํ้าคา มีวัฒนธรรมองคกรที่โปรงใส มีทีมงานที่ดี และพัฒนา นวัตกรรมอยางตอเนื1อง ซึ่งผมถือวา OKRs ก็มีบทบาทสําคัญมาก เพราะ ถาไมมีระบบ OKRs ผมคิดไมออกวากูเกิลจะเปนอยางไร และผมคิดวา แลรรี่และเซอรเกยก็คิดเหมือนผมเชนกัน
* เดิมกูเกิลใช OKRs รายไตรมาส ตอมาเมื1อ ซันดาร พิชัย ไดมาสืบทอดตําแหนZง CEO ตอจาก แลรรี่ เพจ แลว เขาไดไดเพิ่ม OKRs ขึ้นมาอีก 1 ชั้นคือ OKRs ประจําป เพื1อควบคุมใหทุกอยางเดินไปตาม กรอบและเวลาของเปาหมาย โดยใหแตละแผนกรายงานความคืบหนาของการทํางานเปนรายไตรมาส แตในความเปนจริงใหรายงานผลทุก 6 สัปดาห สวนแลรรี่ CEO คนใหมของบริษัทอัลฟาเบต ก็เห็น ดวยวาให ใช OKRs ทั้งบริษัทแมและบริษัทลูกทุกบริษัท เพราะแมแตตัวเขาเองก็ตองเขียน OKRs สวนตัวทุกไตรมาสเชนกัน
39
และคุณจะไดอานในหนาตอๆ ไปวา วัตถุประสงคและผลลัพธหลัก ทําใหเกิดความชัดเจน มีความรับผิดชอบ มีความตองการกาวหนาอยาง ไมหยุดยั้ง ดังที่ อีริก ชมิดต ไดกลาวใหเครดิตแก OKRs ไววา “เปลี่ยน แนวทางของบริษัทไปตลอดกาล” เปนเวลาหลายทศวรรษแลวทีผ่ มเปรียบเสมือน จอหนนี่ แอปเปลซีด ที่บุกเบิกดาน OKRs (จอหนนี่ แอปเปลซีด (Johnny Appleseed) คือชื1อ ของคนที่ทําไรแอปเปลมากมายในสหรัฐฯ เขาคือผูที่บุกเบิกและใหกําเนิด แอปเปล) ผมทําดีทสี่ ดุ เพื1อเผยแพรอจั ฉริยภาพที่ แอนดี้ โกรฟ สรางไวดว ย สไลดนําเสนอ 20 แผนของผม แตอยางไรก็ตาม ผมก็ยังรูสึกเสมอวาผมยัง อยูแ คระดับผิวเผิน ยังไมไดทาํ ลงมือทําเรื1องนี้ ไดอยางเต็มที่ เมื1อไมกปี่ ท ผี่ า น มา ผมตัดสินใจวามันนZาจะคุมคาที่จะลองอีกครั้งหนึ่ง โดยการเขียนหนังสือ เรื1องนี้ (ใหละเอียดลึกซึง้ มากกวาทีพ่ ดู ในสไลด) พรอมกับเปดตัวเว็บไซตทชี่ ื1อ วา whatmatters.com ถือเปนโอกาสดีที่จะไดเผยแพรสิ่งที่เปนแรงบันดาล ใจและทําใหผมเปลีย่ นแปลงชีวติ ตนเองมาแลวใหผอู า นไดเรียนรูก นั ผมหวัง เปนอยางยิ่งวาคุณจะไดประโยชนจากเนื้อหาในหนังสือเลมนี้ ผมไดแนะนําระบบ OKRs ใหกับองคกรที่ไมแสวงหากําไรที่มีความ ทะเยอทะยานระดับโลกและใหกบั ดาวเดนร็อคสตารชาวไอริช (ซึง่ คุณจะได อานขอความจากเขาโดยตรง) ผมไดเห็นดวยสายตาตนเองวาคนจํานวนนับ ไมถว นที่ได ใชวตั ถุประสงคและผลลัพธทสี่ าํ คัญในการเสริมสรางวินยั ในการ คิด สื1อสารไดชดั เจนขึน้ และมีการลงมือทําทีต่ รงตามวัตถุประสงคมากขึน้ ถา หนังสือเลมนีค้ อื OKRs ปณิธานและวัตถุประสงคของหนังสือเลมนีค้ อื เพื1อ ใหชวี ติ ของผูค นและชีวติ ของคุณ เติมเต็มและบรรลุเปาหมายไดดมี ากยิง่ ขึน้ โกรฟไดเริ่มไปแลวในยุคของเขา โฟกัสเฉียบคม แบงปนอยางเปด เผย วัดผลชัดเจน และเหมือนได ใบอนุญาตใหยิงดวงจันทรได หรือถือเปน
40
เหมือนตราประทับของศาสตรการตั้งเปาหมายในยุคใหม เมื1อ OKRs ได เริ่มหยั่งราก และไดสรางคุณงามความดีอยางตอเนื1อง ผูจัดการไดกลาย เปนโคช พี่เลี้ยง และสถาปนิก การลงมือทําและการมีขอมูลสนับสนุนยอม มีเสียงดังกวาแคคําพูด โดยสรุป วัตถุประสงคและผลลัพธสําคัญ คือพลังอํานาจที่ไดรับการ พิสจู นแลว สามารถสรางระบบการปฏิบตั กิ ารทีเ่ ปนเลิศใหกบั กูเกิลได คงจะ ไมมีเหตุผลอะไรที่มันจะไมเหมาะสําหรับคุณ
จากการที่ OKRs แบงออกเปน 2 ภาคคือ วัตถุประสงคและผลลัพธ ที่สําคัญ หนังสือเลมนี้ก็เชนกัน จะแบงออกเปน 2 ภาคคือ ภาคที่ 1 : พูดถึง ความสําคัญของระบบ การเปลี่ยนไอเดียไปสูการปฏิบัติการอยางเหนือชั้น และการสรางความพึงพอใจใหพนักงานในองคกร โดยเราเริ่มตนจากเรื1องราวของ แอนดี้ โกรฟ ที่อินเทล ที่ซึ่งผมได ทํางานอยางใกลชดิ กับเขา และทีท่ ผี่ มกลายเปนคนทีม่ คี วามกระตือรือรนและ มีไฟในตนเองสูง ตอมาจึงกลายมาเปนพลัง 4 ขอหลักของ OKRs ทีเ่ รียกวา “Superpowers” ซึ่งประกอบไปดวย โฟกัส (Focus) สอดคลอง (Align) ติดตาม (Track) และขยายผล (Stretch)
Superpower #1 : โฟกัสและเอาจริงเอาจังกับ สิ่งสําคัญ (อานบทที่ 4, 5, 6) องคกรทีม่ ผี ลงานดีจะตองใหความสําคัญกับการสรางสิง่ ทีม่ คี วามสําคัญ และมีความชัดเจนพอๆ กับเรื1องที่ไมมีความสําคัญ OKRs กระตุนใหผูนํา เลือกทางเลือกทีส่ าํ คัญและทาทาย เพราะมันจะเปนเครื1องมือการสื1อสารทีม่ ี ความกระชับและชัดเจนสําหรับหนZวยงาน ทีมงาน และพนักงานรายบุคคล ทีเ่ กีย่ วของ และเพื1อปองกันความสับสน OKRs จะชวยใหเราสามารถโฟกัส ไดอยางชัดเจนกับสิ่งที่เราตองทําเพื1อใหไดมาซึ่งชัยชนะ
41
Superpower #2 : สอดคลองและเชื1อมโยงการ ทํางานเปนทีม (บทที่ 7, 8, 9) การที่ระบบ OKRs เปนระบบที่โปรงใสเปดเผยได ทําใหเห็นความ ชัดเจนของเปาหมายตัง้ แตระดับ CEO จนถึงเปาหมายรายบุคคล เปาหมาย รายบุคคลจะเชื1อมโยงกับแผนงานหลักของบริษัท รวมถึงทําใหเห็นภาพ การเชื1อมโยงความรวมมือไปมาระหวางทีมที่เกี่ยวของเพื1อให โยงไปสูความ สําเร็จขององคกร การเชื1อมโยงเปาหมายจากบนลงลางทําใหการทํางานมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะทุกคนมีความรูสึกเปนเจาของเปาหมายรวม กัน สวนการเชื1อมโยงจากลางขึน้ บนจะทําใหเกิดความผูกพัน เพราะไดมสี ว น รวมและยังทําใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ ขึ้นได
Superpower #3 : การติดตามความรับผิดชอบ
(บทที่ 10 และ 11) OKRs เปนระบบที่ขับเคลื1อนผลงานบนพื้นฐานของขอมูล ดังนั้น จึงตองมีระบบการติดตามอยางตอเนื1องตามชวงเวลาที่กําหนด บางชวงก็ ติดตามความคืบหนางาน บางชวงก็มกี ารทบทวนประเมินผลงาน และมีการ ติดตามประเมินซํา้ ซึง่ ระบบการติดตามทัง้ หมดนีต้ อ งไมใชระบบการพิพากษา ใคร ไมใชระบบการหาตัวคนผิด เมื1อใดก็ตามทีก่ ารทํางานไมเปนไปตามแผน ตองมีระบบเตือน (ภัย) ใหรูวาจะตองดึงกลับมาใหอยูในแผนที่วางไว หรือ จะปรับเปลี่ยนแผนการทํางานใหมก็ ไดถาจําเปน
Superpower #4 : การขยายและเพิม่ ความทาทายเพื1อ ความเปนเลิศ (บทที่ 12, 13 และ 14) OKRs สรางแรงบันดาลใจใหเราอยากทําสิง่ ทีเ่ ปนไปไดดกี วา มากกวา และยอมสูงกวาที่เราคิดไว โดยการทดสอบขีดความสามารถของเรา การ กลาและยอมรับความลมเหลวของเรา เมื1อเปนเชนนี้ มันจึงทําใหเราตองการ
42
ที่จะปลดปลอยพลังความอยากทําสิ่งนั้นสิ่งนี้และความคิดสรางสรรค ในตัว เราออกมาใหออกมาอยางไมมีขอจํากัด ภาคที่ 2 คือการนํา OKRs ไปใช ในโลกของการทํางานยุคใหม CFRs (ดูรายละเอียดในบทที่ 15 และ 16) คือระบบที่จะเขามา ทดแทนความลมเหลวในการประเมินผลงานประจําปแบบเดิม เพราะเปน ระบบที่ดีกวาและตอเนื1องมากกวา ผมขอแนะนํานองคนเล็กของครอบครัว OKRs เรียกเขาวา CFRs (การสนทนา การใหฟดแบค และการชื1นชม) และผมจะอธิบายใหเห็นภาพวา OKRs กับ CFRs สามารถทํางานรวมกันได อยางไร เพื1อพัฒนาทีมใหสามารถยกระดับผลงานของผูนํา คนทํางาน และ องคกรไปสูความสําเร็จที่สูงขึ้นไปอีก การพัฒนาอยางตอเนื1อง (ดูรายละเอียดในบทที่ 17) จะกลาวถึง กรณีศึกษาสําหรับการกําหนดเปาหมายอยางมีโครงสรางและการจัดการ ผลลัพธอยางตอเนื1อง เราจะเห็นเรื1องราวของบริษทั ทีผ่ ลิตพิซซาดวยหุน ยนต ในการกระจาย OKRs ลงไปในทุกมิติของระบบปฏิบัติการตั้งแตหองครัว ไปจนถึงการตลาดและฝายขาย ความสําคัญของวัฒนธรรมองคกร (ดูรายละเอียดในบทที่ 18, 19 และ 20) บทนี้จะไดพบกับผลกระทบเชิงบวกของ OKRs ในที่ทํางาน และจะไดทราบวา OKRs จะชวยเรงใหเกิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม องคกรไดอยางไร ในเสนทางอันยาวไกลนี้ เราจะเดินอยูหลังฉากเพื1อสังเกตการนําเอา OKRs และ CFRs ไปใช ในองคกรตางๆ ทีม่ คี วามหลากหลายและแตกตางกัน จากแคมเปญของโบโนZทแี่ อฟริกา ไปถึงยูทบู และเสนทางสูก ารเติบโตอยาง กาวกระโดดที่เรียกกันวาโต 10 เทา (10x) การรวบรวมเรื1องราวเหลานี้ ได แสดงใหเห็นวาพลังของการกําหนดเปาหมายแบบมีโครงสรางและการบริหาร ผลงานอยางตอเนื1อง จะมาชวยเปลีย่ นแนวทางการทํางานของเราไดอยางไร
43
2
บิดาแหง OKRs “มีคนจํานวนมากที่แมจะทํางานหนัก แตก็ยังประสบความสําเร็จเพียงนอยนิด” แอนดี้ โกรฟ
เ
รื1องราวทัง้ หมดนีเ้ ริม่ ตนจากการทีผ่ มพยายามจะเอาชนะใจอดีตแฟนสาว เพื1อขอใหเธอกลับมาคบกันเหมือนเดิมหลังจากทีเ่ ธอทิง้ ผมไป ชื1อของเธอ คือแอนน ผมรูแ ควา ตอนนีแ้ อนนทาํ งานทีซ่ ลิ คิ อนวัลเลย แตผมไมรหู รอกวา เธอทํางานอยูตรงสวนไหนบริษัทไหน ในชวงฤดูรอนป 1975 ระหวางที่ผม เรียนที่มหาวิทยาลัยฮารวารด ผมขับรถผานอุทยานแหงชาติโยเซมีตี และ ขับเขาไปในวัลเลยทั้งๆ ที่ไมมีงานทําและไมมีที่พัก ตอนนั้นถึงแมวาผมยัง ไมรวู า อนาคตทีแ่ น;นอนของตนเองวาจะทําอะไร แตความสามารถทีผ่ มมี คือ ผมสามารถเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ชื1อวา DPD-11 ได1 และในชวงที่ ผมเรียนปริญญาโทดานวิศวกรรมไฟฟา ทีม่ หาวิทยาลัยไรซ ผมไดรว มกอตัง้ บริษัทที่เขียนซอฟตแวรดานกราฟกใหกับบริษัทโบโรห ซึ่งเปนหนึ่งใน “คน แคระทั้งเจ็ด2” ที่พยายามแยงชิงสวนแบงการตลาดจาก IBM ตลอดเวลา ที่ผมทํางานอยูที่นั่น ผมมีความสุขและสนุกมากเลย 1 2
ผมเคยเรียน PDP11 ซึ่งเปนคอมพิวเตอรขนาดเล็กยอดนิยมในชวงนั้น คนแคระทั้งเจ็ด หมายถึง บริษัทขนาดเล็ก 7 แหงในยุคที่ IBM ครองสวนแบงทางการตลาดของ ธุรกิจคอมพิวเตอรเปนอันดับหนึ่งถึง 65.7 เปอรเซ็นต ( ในป 1965) โดยสวนที่เหลือจะเปนของทั้ง 7 บริษัทรวมกัน ซึ่งประกอบดวย โบโรห, สเปอรรี่แรนด, คอนโทรลดาตา, ฮันนี่เวลล, เจเนอรัล อิเล็กทริก, RCA และ NCR เลยมีการเรียกยุคนั้นวา IBM และคนแคระทั้งเจ็ด - ผูเรียบเรียง
44
ผมหวังวาจะไดมาฝกงานทีบ่ ริษทั ใดบริษทั หนึง่ ในซิลคิ อนวัลเลย ทีท่ าํ ธุรกิจเกีย่ วกับการเปนผูร ว มลงทุนกับธุรกิจสตารต-อัพ แตผมก็ถกู ปฏิเสธจาก ทุกแหง มีอยูบริษัทหนึ่งที่เปนผูรวมลงทุน (Venture Capital : VC) แนะนํา ใหผมไปลองสมัครที่บริษัทผลิตชิปที่เขาใหการสนับสนุนโดยการเปนผูรวม ลงทุนอยู บริษัทนั้นก็คอื อินเทล ซึ่งตั้งอยูในเมืองซานตาคลารา ผมลองโทร. ไปหาคนที่มีตําแหน;งสูงที่สุดที่นั่น และผมไดคุยกับเขาโดยตรงเลย คนคน นั้นคือ บิลล ดาวิโดว เขาเปนหัวหนาแผนกไมโครคอมพิวเตอรของอินเทล และเมื1อบิลลรูวาผมทําเบนชมารก (Benchmark) ได (Benchmarks หมาย ถึง วิธีการวัดหรือเปรียบเทียบองคกรของตนกับบริษัทที่เปนตนแบบ) เขาก็ เชิญใหผมไปพบและพูดคุยกับเขา สํานักงานใหญของอินเทลที่เมืองซานตาคลารา เปนพื้นที่กวาง เต็มไปดวยหองแบบสีเ่ หลีย่ ม กําแพงเตีย้ ๆ การออกแบบก็เหมือนๆ กับออฟฟศ ทัว่ ไปดูไมคอ ยโดดเดนหรือทันสมัยอะไร หลังจากทีค่ ยุ กันสัน้ ๆ บิลลไดแนะนํา ใหผมรูจักกับ จิม แลลลี่ ที่เปนผูจัดการดานการตลาด และจิมก็ ไดแนะนํา ผมใหรูจักกับคนอื1นในทีมงานของเขา ภายในหาโมงเย็นของวันนั้น ผมก็ ได เปนนักศึกษาฝกงานในชวงฤดูรอนในบริษัทเทคโนโลยีดาวรุงแหงนี้ และที่ โชคดีกวาคือผมไดมีโอกาสพบกับแฟนเกา (แอนน) อีกครั้ง เธอทํางานอยู ถัดไปไมไกลจากผมมากนัก ตอนที่เจอผมดูเหมือนเธอไมคอยตื1นเตนดีใจ อะไรมากนัก (แตอยางไรก็ตามกอนถึงวันแรงงานผมหวังวาเราจะกลับมา เปนแฟนกันอีกแน;นอน) ระหวางการปฐมนิเทศ บิลล ใหผมมาขางๆ แลวพูดวา “จอหน คุณ ตองรูอ ยางหนึง่ นะวาทีน่ มี่ ผี ชู ายคนหนึง่ ทีด่ แู ลดานปฏิบตั กิ าร เขาคือ “แอนดี้ โกรฟ” ตําแหน;งของเขาคือรองประธานบริหาร และเขาอาจจะตองรอไป อีก 12 ปเพื1อขึ้นตําแหน;ง CEO แทน กอรดอน มัวร แอนดี้ โกรฟ เปน นักการสื1อสารที่เกงกาจ เปนนักบริหารชั้นเยี่ยม และเปนคนทํางานมือหนึ่ง ก็วาได ทุกคนรูดีวาเขาคือคนที่เปนวาที่ผูบริหารสูงสุดที่ดูแลเรื1องทั้งหมด
45
ของทีน่ ี่ โกรฟเปนหนึง่ ในสามของผูบ ริหารอินเทลที่ไมนา; จะอยูก บั ทีน่ ี่ไดนาน ถึง 3 ทศวรรษ (อาจจะเปนเพราะบุคลิกลักษณะของเขาดูแตกตางไปจาก กอรดอน มัวร และ โรเบิรต นอยซ มาก) สําหรับ กอรดอน มัวร นั้น เขาเปนคนขี้อายและเปนคนที่มีความคิด ลึกซึง้ เขาเปนผูท อี่ ธิบายการเติบโตแบบยกกําลังของเทคโนโลยี โดยบอกวา ความเร็วในการประมวลผลของคอมพิวเตอรจะเพิ่มขึ้นเปนสองเทาในทุกๆ สองป ซึง่ ตอมามีการตัง้ ชื1อเรื1องนีว้ า กฎของมัวร ตามชื1อของ กอรดอน มัวร ผูเขียนกฎนี้ขึ้นมา สวน โรเบิรต นอยซ เปนผูร ว มคิดคนและประดิษฐวงจร IC (Integrated Circuit) หรือเปนที่รูจักกันในชื1อไมโครชิปนั่นเอง เขาเปนผูที่มีบุคลิกภาพที่ พิเศษกวาใคร ตรงทีด่ ภู ายนอกแลวเขาเหมือนเปนทูตการคา เพราะเขาเปน คนมีมนุษยสัมพันธทดี่ ี และภายในบริษทั เองก็รกู นั ดีวา เขาเปนคนทีร่ บั ฟงและ ซือ้ ใจคนทํางานดวยการเปนเจาภาพเลีย้ งเครื1องดื1มทีว่ ากอนวิลลเสมอ (รูก นั ดีกวาคนทํางานในสายงานนี้ปารตี้หรือดื1มกินกันคอนขางหนัก) อังเดรส อิสวาน กรอฟ (ชื1อเดิมของ แอนดี้ โกรฟ) ผูอพยพชาว ฮังกาเรียน ที่หลบหนีจากนาซีมายังสหรัฐอเมริกาตอนอายุ 20 ปโดยไมมี เงินติดกระเปามาเลย พูดภาษาอังกฤษไดเล็กนอย และผลของสงครามทําให เขาเกือบจะสูญเสียการไดยนิ เขามีรปู รางกะทัดรัด ผมหยิก ดวยความทีเ่ ปน คนมีความมุงมั่นและมีไฟในตนเองอยางแรงกลา ประกอบเขาเปนฉลาด หลักแหลม ทําใหเติบโตกาวหนาขึน้ สูต าํ แหน;งระดับสูงขององคกรที่ไดรบั การ ยอมรับมากทีส่ ดุ ของซิลคิ อนวัลเลย และเรื1องราวของเขาถือเปนปรากฏการณ แหงความสําเร็จที่เลื1องลือกันในซิลิคอนวัลเลยเลยก็วาได ในระหวางทีโ่ กรฟอยูในวาระ CEO 11 ป อินเทลสรางผลตอบแทนการ ลงทุนใหผูถือหุนสูงถึงปละ 40% ถาเทียบกับกฎของมัวรแลว ผลตอบแทน ระดับนี้ถือวาอยูบนเสนโคงสูงสุดของกราฟเลยทีเดียว
46
อินเทลเปนเสมือนหองแล็บของโกรฟในดานนวัตกรรมการบริหาร จัดการ เขาเปนคนชอบการสอนมาก และบริษัทก็ ไดรับประโยชนจากความ สามารถของเขาในเรื1องนี้* ภายหลังจากที่บริษัทรับผมเขาทํางานไดไมนาน ผมไดรบั จดหมายเชิญใหเขารวมสัมมนาเกีย่ วกับกลยุทธและการบริหารงาน ปฏิบัติการที่รวบรวมหลักสูตรวาดวยเรื1องของการบริหารองคกร ปรัชญาใน การดําเนินงาน และวิชาเศรษฐศาสตรของอินเทล หรือที่รูจักในนามของ “iOPEC” โดยมี ดร. แอนดี้ โกรฟ เปนผูบรรยาย
แอนดี้ โกรฟ, ป 1983 * เขาอุทิศเวลาหนึ่งรอยชั่วโมงตอปใหกับนักศึกษาดานธุรกิจระดับปริญญาโท ของมหาวิทยาลัย สแตนฟอรด จํานวน 60 คน
47
ในชวงเวลาเพียง 1 ชั่วโมง แอนดี้เลาประวัติของบริษัทตามลําดับ เวลาแบบปตอป เขาไดสรุปหัวใจหลักของอินเทลไวดังนี้ x x x
ผลกําไรสูงกวาคาเฉลี่ยของกําไรในกลุมอุตสาหกรรม 2 เทา เปนผูนําตลาดในทุกผลิตภัณฑที่วางจําหน;าย สรางสรรค “ตําแหน;งงานที่ทาทาย” และ “สรางโอกาสเติบโต” ใหกับพนักงาน (สามารถดูวิดีโอการสอนของโกรฟไดที่ www. whatmatters.com/grove)
ผมฟงแลวรูสึกวาดีมากๆ เลย มันเหมือนที่ผมเคยไดยินประโยค เหลานี้ตอนเรียนในมหาวิทยาลัย จากนั้นเขาก็พูดบางอยางที่สรางความประทับใจอยางยิ่งใหกับผม เขากลาวถึงบริษทั กอนหนานีข้ องเขาทีช่ ื1อวาแฟรไชลด (Fair Child) ซึง่ เปน ครัง้ แรกทีเ่ ขาไดพบกับนอยชและมัวร พวกเขาทัง้ สามเปนผูบ กุ เบิกและลุยการ วิจยั เกีย่ วกับแผนเวเฟอรทที่ าํ จากธาตุซลิ คิ อน บริษทั แฟรไชลดเปนองคกรทีม่ ี มาตรฐานระดับชัน้ เลิศของอุตสาหกรรม แตทวาสิง่ ทีข่ าดไปสําหรับองคกรนีค้ อื “ขาดความมุงมั่นหรือแรงขับเคลื1อนสูความสําเร็จ” แอนดี้กลาววา “ที่นั่นความเชี่ยวชาญเปนสิ่งมีคุณคามากๆ” และนี่ เปนเหตุผลที่เขาจางคนเหลานั้นเขามาทํางาน และเหตุผลเดียวกันนี้ก็ใช ในการเลื1อนตําแหน;งใหบุคลากร อยางไรก็ตาม การนําความเชี่ยวชาญมา ใช ใหเกิดผลลัพธนั้นเปนไปอยางไรประสิทธิภาพและประสิทธิผล เขากลับ มาพูดถึงอินเทลวา ที่นี่เราจึงทําในสิ่งที่ตรงกันขามกับองคกรนั้น มันแทบ จะไมสาํ คัญเลยวาคุณรูอ ะไร มันสําคัญทีค่ ณ ุ เอาความรูท มี่ มี าหรือหามาเพิม่ ทําอะไรไดบา ง และงานทีท่ าํ สําเร็จนัน้ จะเปนสิง่ ทีส่ รางคุณคาใหกบั ทีน่ ี่ ดังที่ บริษัทเรามีสโลแกนวา “สงมอบอยางอินเทล (Intel Delivers)”
48
มันแทบจะไมสําคัญเลยวาคุณรูอะไร... อยากจะบอกวาความรู เปนเรื1องที่สําคัญรองลงมา แตสิ่งที่สําคัญที่สุดคือการลงมือปฏิบัตินั่นเอง แนวคิดนี้ผมไมไดเรียนมาจากฮารวารดอะไรหรอก ผมคนพบวาในโลกแหง ความเปนจริงการลงมือทําจนบรรลุผลนั้นสําคัญกวาคุณวุฒิหรือการรับรอง ใดๆ แตโกรฟก็ ไมไดหยุดแคนนั้ เขาเก็บเรื1องสําคัญทีส่ ดุ ไวตอนสุดทาย ชวง ไมกี่นาทีกอนจะจบ เขาไดเลาเรื1องระบบที่เขาสรางขึ้นและเริ่มนํามาใช ในป 1971 ซึ่งอินเทลตั้งขึ้นมาเพียง 3 ปเทานั้น ถือเปนครั้งแรกที่ผมไดรูจักกับ การตั้งเปาหมายอยางเปนทางการ ผมรูสึกทึ่งกับสิ่งนี้มาก ตอไปนี้คือขอความบางสวนที่ตัดมาจากคํากลาวของคนที่ ไดชื1อวา เปนบิดาของ OKRs* มาถึงตอนนีม้ คี าํ สําคัญอยู 2 คําคือ...วัตถุประสงค (Objective) และผลลัพธที่สําคัญ (Key Results) และทั้งสองสิ่งนี้ตอบโจทยสอง เรื1องที่ ไมเหมือนกัน วัตถุประสงค คือ ทิศทาง เชน “เราตองการเปน ผูน าํ ในธุรกิจชิน้ สวนไมโครคอมพิวเตอรระดับกลาง” นีค่ อื วัตถุประสงค ที่เราจะมุงไป สําหรับผลลัพธที่สําคัญ สําหรับไตรมาสนี้คือ “ไดดีไซน ใหม 10 แบบสําหรับ 8085” ซึ่งเปนตัวอยางหนึ่งของผลลัพธที่สําคัญ ซึ่งจะเห็นวาทั้งสองเรื1องนี้ (วัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญ) แตก ตางกันจริงๆ... ผลลัพธที่สําคัญตองวัดผลได และในตอนสุดทาย คุณจะเห็น ไดชัดเจนโดยไมตองมีคําโตแยงใดๆ วา ฉันไดทําหรือไมไดทําสิ่งนั้น มันตอบไดงายๆ วาใชหรือไมใช ซึ่งเปนอะไรที่เรียบงายมาก ไมตอง ใชดุลยพินิจในการตัดสินหรือกลาวโทษอะไรเลย ปจจุบันนี้ พวกเราเปนผูนําในธุรกิจไมโครคอมพิวเตอรระดับ กลางใชไหม นี่คือเรื1องที่เราตองมาถกกันในปตอๆ ไป แตสําหรับ ไตรมาสหนาเราตองรู ให ไดวา เราจะไดดไี ซน ใหมมาครบ 10 แบบหรือไม * จินตนาการวาโกรฟกลาวโดยยังติดสําเนียงฮังกาเรียนเจือปนมาเบาๆ
49
โกรฟกลาววา “มันเปนระบบทีเ่ รียบงายมากๆ” การทําใหเรียบงายเปน เรื1องที่น;าตื1นเตนมากสําหรับวิศวกร ดูภายนอกจะเห็นวาแนวคิดนี้มีตรรกะ มีเหตุมีผล ใชการคิดแบบสามัญสํานึก (ความคิดพื้นๆ ธรรมดา) และทําให เกิดแรงบันดาลใจ แตกตางจากการบริหารจัดการเกาๆ ที่ใชกนั มานาน โกรฟ ไดสรางสิง่ ทีส่ ดใหมและไมเหมือนใคร พูดตรงๆ ไดเลยวา “วัตถุประสงคและ ผลลัพธที่สําคัญ” ของเขาไมได โผลขึ้นมาจากความวางเปลา กระบวนการ นี้มีคนเริ่มมากอนเขา โกรฟไดพัฒนาระบบนี้ขึ้นมาจากการตอยอดแนวคิด ของ ปเตอร ดรักเกอร (เขาเปนชาวเวียนนาโดยกําเนิด) ผูที่ไดชื1อวาเปน ผูบุกเบิกและเปนตํานานแหงวงการบริหารธุรกิจสมัยใหม
MBO คือบรรพบุรุษของพวกเรา ชวงตนของศตวรรษที่ 20 กอนยุคบิดาแหงทฤษฎีการจัดการ เฟรเดอริค วินส โลว เทยเลอร และ เฮนรี่ ฟอรด เปนผูบุกเบิกในยุคแรกที่วัดผล ผลิตอยางเปนระบบ และวิเคราะหวาจะทําอยางไรเพื1อใหไดผลผลิตมาก ขึ้น องคกรที่มีประสิทธิผลมากที่สุดและสรางผลกําไรสูงสุดถือเปนองคกร ที่มีอํานาจแบบเบ็ดเสร็จ* เทยเลอรกลาววา ศาสตรแหงการบริหารจัดการ ประกอบดวย “การรูอยางชัดเจนวาสิ่งที่คุณตองการใหคนทําคืออะไร หลัง จากนั้นก็คอยดูวาพวกเขาไดทําสิ่งนั้นดวยวิธีการที่ดีที่สุดและมีตนทุนคาใช จายตํา่ ทีส่ ดุ ” โกรฟกลาววาผลลัพธคอื “ความชัดเจนและลําดับชัน้ การบังคับ บัญชา ซึ่งมีผูสั่งใหทําและผูที่ทําตามคําสั่ง โดยการนําเอาคําสั่งนั้นไปลงมือ ปฏิบัติโดยไมมีขอสงสัยใดๆ”
* ในสมัยนั้นมีโมเดลที่ลํ้าหนากวานี้ถูกละเลย นั่นคือ โมเดลที่นักสังคมของแมสซาชูเซตสชื1อ แมรี่ ปารเกอร โฟลเลตต ไดเขียนไว ในบทความเรื1อง “การใหคําสั่ง” ในป 1926 โฟลเลตตเสนอวา การ แบงปนอํานาจและการรวมกันตัดสินใจระหวางผูจัดการและพนักงานนําไปสูผลลัพธทางธุรกิจได จะเห็นวาโฟลเลตตได ใหความสําคัญกับเครือขายความสัมพันธของคนทํางานในองคกร ในขณะที่ เทยเลอรและฟอรดเห็นวาลําดับชั้นการบังคับบัญชาสําคัญ
50
ครึ่งศตวรรษตอมา ปเตอร ดรักเกอร ศาสตราจารย นักขาว และ นักประวัติศาสตร ไดสรางความสั่นสะเทือนใหกับทฤษฎีการบริหารจัดการ สมัยใหมของเทยเลอรและฟอรด โดยดรักเกอรไดนาํ เอารูปแบบการบริหาร จัดการแบบมุงสูผลลัพธแตยังคงรักษารูปแบบความสัมพันธที่ดีกับคนเขา มาใชแทน โดยยังคงความเปนมนุษย เขาเขียนวาในพื้นฐานขององคกร ควรประกอบไปดวยความเชื1อมั่นและความเคารพตอพนักงานทุกคน ไมใช มองวาเขาเปนเครื1องจักรที่สรางแตผลกําไร เขายังกลาวตอวา ผู ใตบังคับ บัญชาควรไดรับรูและเขาใจเกี่ยวกับเปาหมายของบริษัทดวย แทนที่จะ เปนการบริหารจัดการความเสี่ยงหรือจุดวิกฤติแบบดั้งเดิม เขาเสนอวาควร จะสรางความสมดุลในการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว และควรแจง ใหพนักงานรับทราบขอมูลตางๆ รวมถึงการสงเสริมใหมีการพูดคุยกันเปน ประจําระหวางเพื1อนรวมงานดวยกัน ดรักเกอรตั้งเปาหมายที่จะสราง “หลักการการจัดการที่จะใชจุดแข็ง ของแตละบุคคลอยางเต็มศักยภาพและตามหนาที่ความรับผิดชอบ และ ในเวลาเดียวกันก็ตองกําหนดเปาหมายและแนวทางที่จะมุงหนาไปดวยกัน การสรางทีมและปรับแตงเปาหมายของแตละคนใหเปนหนึ่งเดียวกันกับ เปาหมายความมั่งคั่งของสวนรวม” เขาอธิบายอยางชัดเจนถึงความจริง ของธรรมชาติมนุษยวา เมื1อคนมีสวนรวมชวยเลือกแนวทางการปฏิบัติงาน เขาจะเขาใจและจะมีสวนรวมไปตลอดเสนทางสูความสําเร็จ ในป 1954 หนังสือชื1อดังของเขาชื1อวา The Practice of Management ที่ดรักเกอร ไดเขียนหลักการเรื1อง “การบริหารงานตามวัตถุประสงคและการจัดการ ตนเอง (Management by Objectives and Self-control)” และแนวคิด เหลานี้ ไดกลายมาเปนหลักคิดพื้นฐานของ แอนดี้ โกรฟ ผูที่ใหเกิดสิ่งที่เรา เรียกกันวา OKRs ชวงป 1960 การจัดการตามวัตถุประสงค หรือ MBO (Management By Objective) เปนกระบวนการที่รูจักและองคกรชั้นนําที่ทันสมัยหลาย
51
แหงไดนํามาใช และองคกรหนึ่งที่โดดเดนที่สุดคือ ฮิวเลตต-แพคการด ซึ่งการนําเอา MBO เขามาใช มีสวนสําคัญทําใหเกิดการบริหารงานแบบ ฮิวเลตต-แพคการด หรือเรียกกันวา HP Way ขึ้นมา (HP Way คือ หลัก การการบริหารงานตามแนวทางของฮิวเลตต-แพคการด โดยที่แนวทางนี้มี จุดเดนๆ เชน “Walk-around Management”, “Flextime” และ “Quality Cycles”) องคกรตางๆ ที่ไดนาํ เอาระบบ MBO ไปใชไดฝก ฝนใหคนใสใจเรื1อง ที่สําคัญที่สุดหลักๆ ไมกี่ขอ ซึ่งทําใหไดผลลัพธที่ดีน;าประทับใจมาก จากผล การวิเคราะหขอมูลผลการวิจัยจํานวน 70 กรณี พบวากลุมคนที่จริงจังกับ การทําตามเปาหมายของ MBO สามารถทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้นถึง 56% ใน ขณะทีค่ นที่ไมคอ ยจริงจังกับการทําตามเปาหมาย MBO หรือใหความสําคัญ นอยชวยใหผลผลิตเพิ่มขึ้นไดเพียง 6% เทานั้น แตในที่สุด MBO ก็หนีไมพนขอจํากัดที่เกิดขึ้นตามมาในภายหลัง ในหลายๆ บริษัทการที่เปาหมายถูกกําหนดมาจากผูบริหารระดับสูงหรือมา จากสวนกลาง แลวกระจายลงสูร ะดับลางตามลําดับชัน้ ของการบังคับบัญชา มันเปรียบเสมือนกับการสงเปาหมายลงไปในไซโลที่ยิ่งลึกยิ่งแคบและไมมี อากาศหายใจนั่นเอง ดวยเหตุนี้ทําใหเปาหมายหรือ KPI ที่ถูกสงลงไปใน แตละหน;วยงานเริม่ มีแตตวั เลขที่ไมมคี วามหมายทางใจตอพนักงานระดับลางๆ เพราะเขาไมรทู มี่ าที่ไป ไมมสี ว นรวมอะไรเลย และ MBO มาตายสนิทก็ตอน ที่องคกรชอบเอา MBO ไปผูกติดกับระบบการจายโบนัสและปรับเงินเดือน เมื1อเปนเชนนีค้ าํ ถามในใจของพนักงานคือ ถาเปาหมายที่ใหมาพรอม กับความเสีย่ งตอการถูกลงโทษเรื1องผลตอบแทน ใครอยากจะรับใครอยากจะ ทํา ในชวงทศวรรษที่ 1990 ระบบ MBO ก็คอยๆ เสื1อมความนิยมลง แมแต ปเตอร ดรักเกอร เองก็ใหความสําคัญนอยลงเชนกัน จะเห็นไดจากการทีเ่ ขา กลาวไววา “MBO ก็เปนแคอกี เครื1องมือหนึง่ เทานัน้ ไมใชเครื1องมือทีด่ ที สี่ ดุ ที่จะมารักษาปญหาการบริหารจัดการที่ไรประสิทธิภาพ”
52
การวัดผลลัพธ กาวกระโดดที่ยิ่งใหญของ แอนดี้ โกรฟ คือการที่เขานําหลักการการ บริหารการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมมาผสมกับการบริหารจัดการแบบ ที่เรียกวา “Soft Professions” ซึ่งหมายถึงการบริหารจัดการอยางมือ อาชีพ และมีระดับชั้นของการบริหารจัดการ ซึ่งจะชวยปดจุดออนของการ บริหารงานแบบโรงงานที่เนนการสั่งการและควบคุมเพียงอยางเดียว เขา พยายามหาแนวทางในการ “สรางสภาพแวดลอมที่ใหคณ ุ คาและเนนผลลัพธ” เพื1อหลีกเลีย่ งปญหาเรื1องการทํากิจกรรมเยอะแตไมไดผลงาน ที่ ปเตอร ดรักเกอร เรียกปญหานี้วา “กับดักหรือหลุมพรางของกิจกรรม (Activity Trap)” การเนนที่ผลลัพธถือเปนหัวใจสําคัญในการเพิ่มผลผลิต เพราะถา ไปเนนที่กิจกรรมอาจจะทําใหไดผลในทางตรงกันขามได ถาเปนไลนการ ผลิตที่เปนแบบแอสเซมบลี (Assembly Line คือ ไลนการผลิตที่มีการวาง เครื1องจักรตอเนื1องกันตามลําดับขัน้ ตอนของการผลิต) การแยกผลลัพธออก จากกิจกรรมเปนเรื1องทีท่ าํ ไดงา ยมาก แตเมื1อไหรกต็ ามทีอ่ งคกรจางพนักงาน ทีม่ คี วามรูม าทํางานทีต่ อ งใชความคิดไมใชแคทาํ ตามขัน้ ตอนทีก่ าํ หนดเหมือน ไลนการผลิต นี่คือเรื1องที่ยากและทาทายมาก ถึงตอนนี้ โกรฟกําลังเจอโจทยที่ตองหาคําตอบอยู 2 เรื1องคือ x เราจะกําหนดตัวชีว้ ด ั ผลงานของคนทํางานในระดับทีต่ อ งใชความ รูและความคิดไดอยางไร x เราจะพัฒนาความรูเพื1อใหเขาเพิ่มผลงานไดอยางไร โกรฟเปนผูจัดการแบบมีหลักการทํางานที่สามารถวัดไดพิสูจน ได (แบบวิทยาศาสตร) เขาอานทุกอยางที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมศาสตรและ จิตวิทยากระบวนการคิด ในขณะที่ทฤษฎีลาสุดในตอนนั้นไดนําเสนอ “วิธี การทีด่ กี วาในการทําใหคนทํางาน” ซึง่ หมายถึงดีกวายุคทีแ่ นวคิดของ เฮนรี่ ฟอรด รุง เรือง จากการทดลองของมหาวิทยาลัยทีม่ กี ารควบคุมสภาพแวดลอม
53
พบวา “ไมมผี นู าํ สไตล ใดสไตลหนึง่ ดีกวาสไตลอื1นๆ” ดังนัน้ จึงหนีไมพน ทีจ่ ะ กลาวโดยสรุปวา “ไมมีรูปแบบการบริหารจัดการใดดีที่สุด” เชนกัน ที่อินเทล แอนดี้ โกรฟ คัดเลือกคนที่มีบุคลิกลักษณะคลายๆ กับตัว เขาเองเขามาทํางาน คือเปนคนที่ชอบเก็บตัวแตจริงจังมาก (Aggressive Introverts) เปนคนที่แกปญหาไดรวดเร็ว มีวัตถุประสงคชัดเจน เปนคนมี ระบบ และมีจดุ ยืนทีม่ นั่ คงแน;วแน; และภายใตการนําของโกรฟ คนทีอ่ นิ เทล มีทกั ษะในการเผชิญหนากับปญหาโดยไมตอ งปะทะกับผูค น เขาแยกการเมือง ออกไปจากการบริหารจัดการอยางเด็ดขาด เพื1อทําใหทกุ อยางเร็วขึน้ สมเหตุ สมผล และมีการตัดสินใจรวมกันมากขึ้น ทุกๆ สวนปฏิบัติการของหน;วยงานในอินเทล ทํางานบนพื้นฐานของ ระบบที่น;าเชื1อถือ และเพื1อเปนเกียรติแก ปเตอร ดรักเกอร โกรฟจึงตั้งชื1อ ระบบการกําหนดเปาหมายนีว้ า “iMBOs” ซึง่ หมายถึง Intel Management By Objectives อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติแลว iMBOs แตกตางจาก MBO แบบดัง้ เดิมอยางมาก โกรฟไมคอ ยไดกลาวถึงวัตถุประสงค โดยไมพดู ถึงผลลัพธที่สําคัญ ซึ่งเขาเปนผูบัญญัติศัพทนี้ขึ้นเอง และเพื1อไมใหสับสน ผมขออนุญาตเรียกระบบนี้วา OKRs ซึ่งเปนตัวยอที่เขากําหนดขึ้น ลองมา เทียบกันดูวา iMBO กับ MBO แบบเดิมแตกตางกันอยางไร เปรียบเทียบ MBOs กับ OKRs MBOs
Intel OKRs “อะไร” “อะไร” และ “อยางไร” รายป รายไตรมาส หรือรายเดือน ตามหน;วยงาน/บุคคล และเปนแบบไซโล สวนรวมและโปรงใส จากบนลงลาง ผูกติดกับคาตอบแทน ไมเสี่ยง
จากลางขึ้นบน และดานขาง (ประมาณ 50%) แยกออกจากคาตอบแทน กาวหนา ทาทาย และสรางแรงบันดาลใจ
54
ในป 1975 เมื1อผมมาถึงที่อินเทล ระบบ OKRs ของโกรฟถูกนําไป ใชอยางเต็มรูปแบบและพนักงานทุกคนมีวัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญ เปนรายเดือนเรียบรอยแลว ภายในงานสัมมนา iOPEC (งานสัมมนาเกี่ยว กับกลยุทธและการดําเนินงานของอินเทล) ผูอํานวยการก็ใหผมทําในสิ่ง เดียวกันคือ ใหผมเขียนเกณฑมาตรฐานการเปรียบเทียบ (Benchmarks) สําหรับ 8080 ซึง่ เปนระบบปฏิบตั กิ ารทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ ของอินเทลสําหรับตลาด ไมโครโปรเซสเซอร 8 บิต ซึ่งถือวาเราเปนผูครองสวนแบงการตลาดในยุค นั้น เปาหมายของผมคือ การแสดงใหเห็นวาชิปของเราเร็วกวาของคูแขง อยางไรและเอาชนะคูแขงไดอยางไร นีค่ อื OKRs ของผมทีอ่ นิ เทล ซึง่ แมวา มันเกือบจะเลือนหายไปกับกาล เวลา แตผมจะไมมีวันลืมความสําคัญของกาวแรกในครั้งนี้ ไดเลย วัตถุประสงค
เพื1ือแสดงใหเห็นวา 8080 มีความเหนือกวา เมื1อเปรียบเทียบกับโมโตโรลา 6800 ผลลัพธที่สําคัญ (วัดผลโดย...) 1. สงมอบเกณฑมาตรฐาน 5 เรื1อง 2. พัฒนาตัวอยาง 3. พัฒนาเครื1องมือการสอนฝายขายที่ตองออกตลาด 4. เยี่ยมลูกคา 3 รายเพื1อพิสูจนวาเครื1องมือนี้ใชงานไดดี
สิ่งสําคัญที่สุดสําหรับอินเทล ผมยังจําไดวาผมพิมพ OKRs ของผมดวย IBM Selectric (มีกอน เครื1องเลเซอรปรินเตอรสําหรับใชทั่วไปเพียงปเดียว) ผมเอากระดาษที่เปน เปาหมายของผมนัน้ ใสในชองใสเอกสารเพื1อใหคนทีเ่ ดินผานไปมาไดอา นกัน ผมไมเคยทํางานในที่ที่ผมตองเขียนเปาหมายการทํางานมากอน ยิ่งเรื1องที่ เราจะตองเห็นเปาหมายของคนอื1น คนอื1นเห็นเปาหมายของเรา คงไมตอง
55
พูดถึงเลย แตที่นี่ผมเห็นเปาหมายของทุกคน จนถึงเปาหมายระดับ CEO เลยทีเดียว ผมพบวามันนJาตื1นตาตื1นใจ มันทําใหเราโฟกัสชัดเจน รูสึกปลด ปลอย และมีอสิ ระในเวลาเดียวกันดวย เวลาทีค่ นอื1นในทีท่ าํ งานเดินมาหาผม ในระหวางไตรมาสเพื1อขอใหผมรางดาตาชีตใหมๆ ทําใหผมกลาที่จะปฏิเสธ ได โดยไมกังวลวามันจะมีผลกระทบตอผม ทั้งนี้เพราะ OKRs ทําใหทุกคน เห็นถึงลําดับความสําคัญในการทํางานของผมไดอยางชัดเจน ดวยเหตุผลนี้ ทําใหผมตัดสินใจปฏิเสธการรองขอจากคนอื1นไดไมยากเลย ในยุคสมัยของ แอนดี้ โกรฟ OKRs คือสิ่งที่สําคัญและจําเปนมาก ที่สุดสําหรับอินเทล เพราะ OKRs ถูกนําไปใช ในทุกๆ ที่ทุกๆ โอกาส ทั้งการ พูดคุยรายบุคคลประจําสัปดาห การประชุมพนักงานทุก 2 สัปดาห การนํา ไปใช ในการทบทวนเปาหมายของแผนกประจําเดือนหรือประจําไตรมาส นี่เปนวิธีการที่อินเทลบริหารจัดการคนนับหมื1น ที่แตละคนบรรจงสลักเสน สายซิลคิ อนและทองแดงจํานวนนับลานเมตรลงในเซมิคอนดักเตอรไดอยาง แมนยํา การสรางเซมิคอนดักเตอรเปนธุรกิจที่ยาก หากปราศจากความเขม งวดแลวก็ ไมมอี ะไรทีเ่ ปนไปได ทุกอยางจะพังเสียหายแบบจมดิง่ ลงเหวหมด แนJๆ OKRs จึงถือเปนเครื1องเตือนใจใหกับทุกคนตลอดเวลาวาอะไรคือสิ่ง สําคัญทีท่ มี เราตองทํา มันจะบอกอยางชัดเจนวาเราบรรลุเปาหมายไดหรือไม ในขณะเดียวกันกับที่ผมเขียนเกณฑมาตรฐานการเปรียบเทียบ ผม ก็ทําหนาที่สอนทีมขายในประเทศของอินเทลไปดวย เมื1อเวลาผานไปหลาย สัปดาห โกรฟก็ ไดเริ่มรูวาคนที่มีความรูเรื1อง 8080 มากที่สุดในบริษัทคือ พนักงานฝกงานอายุ 24 ป มีอยูวันหนึ่งที่เขามาหาผม แลวบอกวา “ดัวร ไปยุโรปกับผม” สําหรับเด็กฝกงานในชวงฤดูรอนแลว นี่เปนคําเชิญที่ดี มากๆ เลย ผมไดเดินทางไปกับโกรฟและอีวาภรรยาของเขา เราไปปารีส ลอนดอน และมิวนิก เราสอนทีมขายที่ยุโรป และไปเยี่ยมกลุมเปาหมายที่ คาดวาจะเปนลูกคารายใหญของเราจํานวน 3 ราย และเราไดงานมา 2 ราย ผมไดชว ยโกรฟเต็มทีท่ กุ เรื1องเทาทีผ่ มจะชวยได เราไปรับประทานอาหารกัน
56
ทีร่ า นอาหารระดับมิชลินสตารทโี่ กรฟคุน เคย ดูเหมือนเขาจะพึงพอใจกับการ ทํางานของผม ในสายตาของผม ผมรูสึกวาเขาเปนนักบริหารมืออาชีพตัว จริงที่นJาเกรงขามมากๆ เลย กลับมาที่แคลิฟอรเนีย แอนดี้ให บิลล ดาวิโดว เขียนจดหมายยืนยัน ใหผมทราบวาปหนามีงานรอผมอยูแนJๆ แลว ฤดูรอนปนั้นชางตื1นตาตื1นใจ สําหรับผมเปนอยางยิ่ง เพราะมันเต็มไปดวยบทเรียนจนเกือบจะทําใหผม ลาออกจากฮารวารดกอนเรียนจบเลยทีเดียว คิดวาผมสามารถเรียนรูเ กีย่ วกับ ธุรกิจไดมากถาผมอยูที่อินเทล เมื1อกลับไปที่แมสซาชูเซตส ผมก็ ไดทํางาน พารตไทมกบั ลูกคาของบริษทั อินเทลทีช่ ื1อวาดิจติ อลอีควิปเมนตคอรปอเรชัน่ เพื1อชวยเขาจัดการกับปญหาตางๆ ใหสามารถกาวเขาไปสูยุคของไมโคร โปรเซสเซอรได ทันทีทผี่ มจบภาคการศึกษาสุดทาย ผมรีบบึง่ ไปทีซ่ านตาคลารา ทันที และอยูกับอินเทลตอไปอีก 4 ป
แอนดี้ โกรฟ - ศาสดาของ OKRs ในชวงกลางทศวรรษที่ 1970 เปนชวงที่อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร สวนบุคคลถือกําเนิดขึน้ ถือเปนปทองของคนทีม่ ไี อเดียใหมๆ และผูป ระกอบ การรายใหม แตผมยังอยูแคระดับลางของเสาโทเทม (Totem Pole – เปน เสาไมแกะสลักเรื1องราวในตํานานหรือลําดับคนสําคัญในครอบครัว เปน ศิลปวัฒนธรรมทางชายฝงตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกา ในที่นี้ ผูเขียนหมายถึงตัวเขาเปนเพียงคนทํางานที่ยังอายุนอย และประสบการณ ก็ยังนอยอยู) ผมเพิ่งเปนผูจัดการแผนกผลิตภัณฑปแรก แตผมกับโกรฟก็มี ความสัมพันธที่ดีตอกัน วันหนึ่งในฤดูใบไมผลิ ผมขับรถไปรับเขาเพื1อไปที่ งานเวสต โคสตคอมพิวเตอร ที่ซานฟรานซิสโกซีวิกออดิทอเรียม เราพบ อดีตผูบริหารอินเทลกําลังสาธิตแอปเปลทู ซึ่งเปนคอมพิวเตอรที่ทันสมัย และแสดงภาพกราฟกไดอยางสวยงาม ผมพูดวา “แอนดี้ ขณะนีเ้ รามีระบบ ปฏิบตั กิ ารแลว เราทําไมโครชิปแลว เรามีตวั แปลโปรแกรม เรามีใบอนุญาต
57
เบสิก อินเทลก็นาJ จะผลิตเครื1องคอมพิวเตอรสว นบุคคลได” แตระหวางทาง ที่เราเดินไปตามทางเดิน ผานพอคาที่เรขายชิปและชิ้นสวนในถุงพลาสติก โกรฟยืนมองอยูนาน และพูดวา “เอะ นี่มันงานอดิเรกนี่นา เราไมเขาสู ธุรกิจแบบนี้หรอก” ฝนยิ่งใหญของผมก็แตกสลายไป อินเทลไมเคยเขาสู ตลาดเครื1องพีซีเลย ถึงแมเขาจะไมใชคนประเภทที่แสดงออกมาใหเห็นนัก แตโกรฟเปน ผูน าํ ทีม่ คี วามเมตตา เมื1อใดทีเ่ ขาเห็นผูจ ดั การลมเหลว เขาจะหาตําแหนJงอื1น ให ซึง่ อาจจะเปนตําแหนJงทีต่ าํ่ กวาทีเ่ ขาเคยอยู และถาเขาทํางานไดสาํ เร็จดี กวา เขาก็จะกลับขึน้ มามีทยี่ นื และไดรบั การยอมรับอีกครัง้ หนึง่ โกรฟเปนนัก แกปญหาจากหัวใจ ในฐานะที่เปนผูเห็นประวัติศาสตรของอินเทล ดูเหมือน วา “เขาจะรูวาตนเองตองการ อะไร และจะทํา อยางไร เพื1อใหบรรลุเปา หมายนั้น1” เขาจึงเปน OKRs ที่มีชีวิตและเดินได อินเทลเกิดมาในยุคของการรณรงค ใหพูดอยางเสรี ที่เบิรกเลยเปน ยุคบุปผาชนแหงไฮต-แอชเบอรี2่ การตรงตอเวลาเปนเรื1องที่เชยไปแลวใน หมูว ยั รุน แมแตในหมูว ศิ วกรหนุม สาว ซึง่ บริษทั พบวาเรื1องนีเ้ ปนปญหาความ ทาทายอยางมากที่จะทําใหพนักงานใหมมาทํางานตรงเวลา โกรฟแกปญหา โดยใหวางใบเซ็นชื1อไวทโี่ ตะดานหนาเพื1อทีจ่ ะจดชื1อคนทีม่ าสายกวา 8.05 น. พวกเราเรียกกระดาษนั้นวา “รายชื1อคนมาสายของแอนดี้” โดยโกรฟจะมา เก็บกระดาษใบนี้ทุกวันตอนเชาเวลา 9 โมงตรง (ในวันที่ผมมาสาย ผมจะ พยายามตอกรกับระบบนัน้ โดยนัง่ เลนอยูในลานจอดรถจนถึงเวลาประมาณ 9 โมง 5 นาที) ไมมีใครรูวามีใครบางที่เคยถูกจับหรือปรับ อยางไรก็ตาม กระดาษใบนี้ ไดแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของการรักษาวินัยในตนเองใน ธุรกิจที่ไมมีพื้นที่วางใหกับความผิดพลาด 1 2
เนนยํ้าเพิ่มเติม พวกฮิปปส ว นใหญพากันไปชุมนุมกันทีต่ าํ บลไฮต-แอชเบอรี่ ในนครซานฟรานซิสโก และทีอ่ สี ตวลิ เลจ ในนครนิวยอรก โดยพวกฮิปปจะเรียกตนเองวา “บุปผาดรุณ (flower children)” หรือ “บุปผาชน (flower people)” - ผูเรียบเรียง
58
โกรฟเขมงวดกับทุกคนโดยเฉพาะอยางยิ่งกับตัวเขาเอง สําหรับคน ที่สรางความสําเร็จใหกับตนเอง เขาอาจจะเปนคนหยิ่งยโสก็ ได แตเขาก็ ไม ไดทาํ อะไรเลนๆ หรือประชุมไปแบบเรื1อยเปอ2 ย หรือนําเสนอแบบคนไมคอ ย สบาย (เขามีตรายางครบชุดบนโตะทํางานของเขา รวมทั้งอันที่แกะสลักวา งีเ่ งา) เขาสรางความเชื1อประการหนึง่ ขึน้ มาวา หนทางทีด่ ที สี่ ดุ ในการจัดการ กับปญหาทางการบริหาร คือการเผชิญหนาอยางสรางสรรค โดยการเผชิญ หนาแบบทื1อๆ ตรงๆ และไมรูสึกผิดหรือเสียใจแตอยางใด* ถึงแม โกรฟเปนคนใจรอน แตเขาก็เปนคนทีต่ ดิ ดิน เขาถึงไดงา ย และ เปดกวางรับฟงไอเดียดีๆ ใหมๆ ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดกับ New York Times วา ผูจัดการที่อินเทล “จะวางหรือละทิ้งตัวตน ตําแหนง หัวโขน ไวนอก หองกอนเขารวมประชุม” เขาเชื1อวาทุกการตัดสินใจใหญๆ ควรจะเริ่มตน จาก “การสนทนาแบบเสรี... ซึ่งเปนกระบวนการที่ปฏิบัติสืบทอดตอๆ กัน มา” สําหรับแนวทางที่จะทําให โกรฟยอมรับใครสักคนคือ เมื1อคุณไมเห็น ดวยกับเรื1องใดเรื1องหนึ่ง คุณจะตองยืนยันสิ่งนั้นไปใหตลอด จนสุดทายสิ่ง นั้นไดกลายมาเปนสิ่งที่ถูกตองในที่สุด นั่นแหละเขาจะยอมรับคุณไดไมยาก หลังจากที่ผมเปนผูจัดการผลิตภัณฑมาถึง 18 เดือนแลว จิม แลสลี่ ที่ขณะนั้นเปนหัวหนาฝายการตลาดดานระบบ เขาเปนพี่เลี้ยงที่ดีมากและ เปนฮีโรของผมเลยก็วาได เขาพูดกับผมวา “ดัวร ถาคุณตองการเปน ผูจ ดั การทีย่ อดเยีย่ มในอนาคต คุณตองออกไปขางนอกบาง ลองออกไปขาย ไปถูกปฏิเสธจากลูกคา และเรียนรูที่จะทํายอดขายใหได คุณสามารถหา ผูเชี่ยวชาญทางเทคนิคไดจากทั่วโลก แตคุณจะทําธุรกิจสําเร็จหรือลมเหลว ก็อยูที่วาทีมคุณทํายอดขายไดตามเปาหรือไม”
*
เราจะเห็นโกรฟมีอิทธิพลตอ สตีฟ จ็อบส ผูซึ่งมีความสนิทสนมกันและมีสายสัมพันธที่ซับซอน
59
ในป 1978 หลังจากที่ผมกับแอนนแตงงานกันแลว ผมเลือกมาอยูที่ ชิคาโก และมาเปนตัวแทนขายดานเทคนิคในภูมิภาคมิดเวสต มันเปนงาน ที่ดีที่สุดที่ผมเคยทํามา ผมชอบชวยเหลือลูกคาโดยเฉพาะการสรางเครื1อง ลางไตใหมีประสิทธิภาพดีกวาเดิม อีกงานที่ชอบคือชวยลูกคาทําระบบการ ควบคุมสัญญาณไฟจราจร ผมรักและสามารถทําไดดีกับการขายไมโคร โปรเซสเซอรของอินเทล ขายสมองกลของเครื1องคอมพิวเตอร ที่ทําหนาที่ นี้ ไดดีสวนหนึ่งก็นJาจะมาจากคุณพอของผม (ผมไดรับพรสวรรคนี้มาจาก โลว ดัวร พอของผม ผูซึ่งเปนวิศวกรเครื1องกลที่ชอบพบปะผูคนและรักการ ขายมาก) ประกอบกับผมเคยทําเรื1องเกณฑมาตรฐานเปรียบเทียบ (Benchmarks) มากอน ทําใหผมมีความรูเ กีย่ วกับโปรแกรมโคลด (Program Cold) ที่ตองใชกับสินคากลุมนี้เปนอยางดี ปจจัยเหลานี้คือสิ่งที่ชวยทําใหผมบรรลุ เปาหมาย แมเปาหมายยอดขายปแรกของผมจะตั้งไวสูงจนนJากลัวคือ 1 ลานเหรียญก็ตาม แตผมก็ทํามันสําเร็จจนได หลังจากทํางานที่ชิคาโกแลว ผมกลับมาทํางานที่ซานตาคลาราอีก ครั้งในฐานะผูจัดการฝายการตลาด ขณะเดียวกัน ในตอนนั้นผมตองสราง ทีมงานเล็กๆ ของผมดวยการวาจางพนักงานใหมมาเสริมทีม ผมตองพัฒนา พนักงานใหมโดยการสอน แนะนํา และตองกําหนดสิ่งที่ผมคาดหวังพรอม กับตัวชี้วัดผลงานของแตละคน ทําใหทักษะเรื1องการจัดการคนและการ ตั้งเปาหมายของผมพัฒนาสูงขึ้น ผมรูสึกชื1นชมและชื1นชอบระบบการ ตัง้ เปาหมายของโกรฟเพิม่ มากขึน้ อีก ในระหวางนีผ้ มก็ ไดรบั การโคชชิง่ จาก ผูจ ดั การของอินเทลในทุกขัน้ ตอนของการบริหารงาน ทําใหผมมีวนิ ยั ทีเ่ สมอตน เสมอปลายเพิม่ มากขึน้ ผมมีความเชื1อมัน่ ในระบบสื1อสารของ OKRs ทีม่ คี วาม โปรงใสชัดเจนจนทําใหทมี งานของผมสามารถทํางานทีส่ าํ คัญๆ ไดสาํ เร็จ การ ทีผ่ มมีความรูแ ละทักษะเกีย่ วกับวัตถุประสงคและผลลัพธทสี่ าํ คัญสูงขึน้ มาอีก ระดับหนึง่ นัน้ มันคงไมใชเรื1องบังเอิญแนJๆ แตตอ งเกิดจากการทุม เท เรียนรู และลงมือทําใหมากกวาและลึกกวา
60
ป 1980 ผมมีโอกาสยายไปทํางานกับบริษัทใหม คือบริษัทไคลเนอร เพอรคินส เพราะตองการยกระดับพื้นฐานความรูดานเทคนิคของผมใหสูง ขึ้น โกรฟไมเขาใจวาทําไมผมตองลาออกจากอินเทลดวย (เขาทําใหบริษัท อยูในแนวหนาไดตลอดเวลา อาจจะยกเวนยุคหลานของเขา) โกรฟคนที่อยู อยูต รงหนาผมเขาเปนคนทีม่ คี วามสามารถสูง เปนสุดยอดนักบริหารทีร่ แู ละ เขาใจคน เขาอานใจผมไดทะลุทะลวง รูวาความฝนของผมคือการไปเปน นักลงทุน (Venture Capital) ดวยซํ้าไป และชวงนั้นเขาเปนประธานของ บริษัทแลว เขาพูดกับผมวา “เอานJาดัวร คุณไมตองการเปนผูจัดการทั่วไป ที่นี่หรือ คุณจะไดเปนผูบริหารที่สรางผลกําไรจากผลประกอบการไดจริงๆ ผมจะยกใหคณ ุ บริหารแผนกซอฟตแวรของอินเทลเลย” แมเรายังไมมธี รุ กิจ นี้เลยแตคุณก็สามารถทําใหมันมีขึ้นมาได แลวเขาก็ขยี้ความฝนของผมวา “จอหน การเปนผูรวมลงทุนนั้นมันไมใชผูประกอบการตัวจริงหรอกนะ มัน ก็ ไมแตกตางอะไรกับการเปนนายหนาอสังหาริมทรัพยหรอก”
มรดกของ แอนดี้ โกรฟ โกรฟเสียชีวิตเมื1ออายุ 79 ป หลังจากที่ทรมานจากโรคพารกินสันมา ระยะหนึง่ The New York Times เรียกเขาวา “หนึง่ ในผูท ี่ไดรบั การสรรเสริญ ใหเปนบุคคลแหงยุคคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต” เขาไมใชนกั ทฤษฎีอมตะ อยาง กอรดอน มัวร หรือคนดังแหงยุค เชน บ็อบ นอยซ รวมทั้งเขาก็ ไมได เขียนหนังสือมากเหมือนกับ ปเตอร ดรักเกอร ในหลักปรัชญาแหงการบริหาร จัดการ แตโกรฟไดเปลีย่ นวิถชี วี ติ ของพวกเราทัง้ หมด ในป 1997 เปนเวลา 3 ทศวรรษหลังจากการทดลองของเขาทีแ่ ฟรไชลด เขาไดรบั ฉายา บุรษุ แหงป จากนิตยสาร Time บุคคลผูซึ่งรับผิดชอบตอการเติบโตอยางนJามหัศจรรย ดวยพละกําลังของศักยภาพไมโครชิป แอนดี้ โกรฟ เปนคนพันธุผสม เขา เปนทั้งนักเทคโนโลยีและผูบริหารที่ยิ่งใหญแหงยุค ผมคิดถึงเขาเหลือเกิน
61
พื้นฐานที่ปองกันความไมพึงพอใจ
ตอระบบ OKRs ของ ดร. โกรฟ
หัวใจสําคัญของวัฒนธรรมองคกรที่ดีตามแบบฉบับของ OKRs มีความซื1อสัตยที่จริงใจตรงไปตรงมา ยอมเสียสละประโยชนสวนตัวเพื1อ ประโยชนของทีม นีค่ อื มรดกทางความคิดทีถ่ า ยทอดออกมาจากตัวตนของ แอนดี้ โกรฟ ซึง่ เขาเปนนักบริหารทีค่ รบเครื1อง เพราะเขามีทงั้ วิธคี ดิ แบบ วิศวกรที่ชวยให OKRs มีประสิทธิภาพสูง ในขณะเดียวกัน เขาก็มีความ สามารถดานการบริหารจัดการโดยเฉพาะการบริหารคนที่ยอดเยี่ยมและ ทรงคุณคา พูดงายๆ คือเขาเกงคน เกงงานนั่นเอง ตอไปนี้คือบทเรียน ที่ผมเรียนรูมาจากอินเทลจากตนตํารับและจาก จิม แลสลี่ ผูซึ่งเปนแฟน พันธุแทของ OKRs และเปนพี่เลี้ยงในการทํางานของผม นอยแตมาก โกรฟเขียนไววา “วัตถุประสงค ไมกี่ขอที่เลือกมาอยางดีที่สุด บอกอยางชัดเจนวาอะไรที่เราบอกวา ใช และอะไรที่เราจะปฏิเสธ” วัตถุประสงค OKRs จํากัดเพียง 3 ถึง 5 ขอตอหนึ่งรอบ เปนตัวชี้นําการ ทํางานระดับบริษัท ทีมงาน และรายบุคคล ใหตัดสินใจไดวาอะไรคือสิ่งที่ สําคัญทีส่ ดุ วัตถุประสงคแตละขอควรกําหนดผลลัพธทสี่ าํ คัญไมเกิน 5 ขอ (ดูบทที่ 4 Superpower #1 : โฟกัสและจัดลําดับความสําคัญแบบจริงจัง) กําหนดเปาหมายจากลางขึ้นบน เพื1อเปนการสงเสริมความผูกพันของพนักงาน ทีม และรายบุคคล ควรจะไดรบั การสนับสนุนใหกาํ หนด OKRs ของตนเองอยางนอยครึง่ หนึง่ ของ OKRs ทัง้ หมด โดยผูจ ดั การใหคาํ ปรึกษาแนะนํา เพราะถาเปาหมาย ทั้งหมดไดรับการกําหนดจากบนลงลางเพียงอยางเดียว แรงจูงใจของคน ทํางานก็จะหายไป (ดูบทที่ 7 Superpower #2 : ปรับแตงเปาหมายให สอดคลองกันเพื1อการทํางานเปนทีม) ไมเผด็จการ OKRs เปนความรวมมือของสัญญาประชาคมภายในองคกร ในการ กําหนด จัดลําดับความสําคัญของเปาหมาย และกําหนดแนวทางในการ วัดความกาวหนาของงาน ถึงแมวาจะผานวาระการถกเถียงเพื1อกําหนด วัตถุประสงคของบริษัทไปแลวก็ตาม แตทุกคนยังสามารถเจรจาตอรอง
62
เรื1องการวัดผลลัพธทสี่ าํ คัญไดอยู ความคิดรวมกันของทัง้ องคกรถือวาเปน สิ่งสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการนําพาองคกรไปสูการบรรลุเปาหมาย (ดูบทที่ 7 Superpower #2 : ปรับแตงเปาหมายใหสอดคลองกันเพื1อ การทํางานเปนทีม) มีความยืดหยุน ถาสถานการณเกิดการเปลี่ยนแปลง และวัตถุประสงคก็ดูเหมือน วาไมเหมาะสมในทางปฏิบัติหรือไมสัมพันธกับสิ่งที่ไดเขียนไว ผลลัพธที่ สําคัญควรไดรับการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรืออาจจะยกเลิกไประหวาง รอบของการบริหารผลงานได (ดูบทที่ 10 Superpower #3 : ติดตามเพื1อ การตรวจสอบผลการดําเนินงาน) กลาลมเหลว โกรฟเขียนวา “ผลลัพธมักจะยิ่งใหญเมื1อทุกคนพยายามยกระดับ ทีม่ ากกวาแคเอือ้ มถึง... การกําหนดเปาหมายแบบนีส้ าํ คัญอยางยิง่ ถาสิง่ ทีค่ ณ ุ ตองการคือผลงานทีย่ อดเยีย่ มจากตัวคุณเองและผู ใตบงั คับบัญชา” OKRs ของงานปฏิบตั กิ ารทีส่ าํ คัญและจําเปนตองทํา (Committed OKRs) จะตองบรรลุผล 100% ในขณะที่ OKRs ทีอ่ ยากทําเพราะมีแรงบันดาลใจ (Aspirational OKRs) ก็ควรจะไมงา ยจนเกินไปและไมยากจนเปนไปไมได โกรฟเรียกวา “Stretched Goal” หมายถึง การขยายหรือเพิ่มเปาใหยาก ขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งจากเปาที่กําหนดไว เพื1อทําใหองคกรเติบโตกาวหนาสูง ขึ้นไปทําจุดสูงสุดใหม (New Heights) พูดงายๆ วาตองการใหคนทํางาน ทําลายสถิติผลงานที่เคยทําสูงสุดใหไดอีก (ดูบทที่ 12 Superpower #4 : เพิ่มความทาทายของเปาหมายเพื1อผลลัพธที่นJาทึ่ง) เปนเครื1องมือ ไมใชอาวุธ โกรฟเขียนวา “ระบบ OKRs เปรียบเหมือนนาฬกาที่พนักงานใช ในการนับจํานวนกาวของตัวเอง OKRs ไมใชเอกสารที่จะนําเอาผลการ ประเมินผลงานไปใช ในทางกฎหมายหรือกฎขอบังคับในการทํางานใดๆ” แต OKRs สงเสริมใหคนกลาลอง กลาเสี่ยง และปองกันคนที่ไมทุมเท ทํางานทํางานหรือแบบเชาชามเย็นชาม และถาจะใหดีที่สุดคือตองแยก OKRs ออกจากการจายโบนัสไปเลย (ดูรายละเอียดในบทที่ 15 “การ บริหารผลงานอยางตอเนื1อง : OKRs และ CFRs”)
63
อดทน แนFวแนF ทุกกระบวนการตองมีการลองถูกลองผิด เหมือนกับทีโ่ กรฟไดบอก กับนักเรียน iOPEC (นักศึกษาฝกงาน) ของเขา การนํา OKRs เขามาใช ในอินเทลก็เชนกัน เรา “เจอปญหาติดๆ ขัดๆ อยูบอยครั้ง” หลังจากที่นํา เอา OKRs เขามาใช และในตอนแรกๆ “เราเองก็ยงั ไมเขาใจเปาประสงค ของเรื1องนี้อยางแจมแจง แตเมื1อวันเวลาผานไป ทุกอยางมันก็คอยๆ ดี ขึน้ ” องคกรอาจจะใชเวลา 4 - 5 ไตรมาสหรือมากกวานัน้ ทีจ่ ะเขาใจระบบ อยางแทจริง และใชเวลาในการเสริมสรางความแข็งแกรงของระบบการ กําหนดเปาหมาย
64
3
เรื1องราวของอินเทล การปฏิบัติการที่ชื1อวา “Operation Crush” บิลล ดาวิโดว
อดีตรองประธาน แผนกระบบไมโครคอมพิวเตอร
o
peration Crush (การปฏิบตั กิ ารทําลายใหยอ ยยับ) หมายถึง การตอสู เพื1อความอยูรอด ในชวงแรกๆ ของการกอตั้งบริษัทอินเทลถือเปน เรื1องแรกของเราในการเลาเรื1อง OKRs คําวายอยยับหรือแหลกละเอียด (Crush) อธิบายใหเราเห็นถึงพลังวิเศษที่ตอไปในหนังสือเลมนี้จะขอเรียก วา “Superpowers” ของ OKRs ซึ่งมีทั้งหมด 4 เรื1องประกอบดวย การ โฟกัส (Focus) ความสอดคลอง (Alignment) การติดตาม (Tracking) การ ขยาย/การเพิ่มความทาทาย (Stretching) ทั้งหมดนี้แสดงใหเห็นวา ระบบการกําหนดเปาหมายแบบ OKRs นี้ สามารถสรางพลังใหองคกรขับเคลื1อนหน;วยงานทีห่ ลากหลายและพนักงาน หลายพันคนมุงหนาสูวัตถุประสงครวมอันเดียวกัน ชวงทายๆ ของผมที่อินเทล บริษัทกําลังเผชิญหนากับภัยคุกคามวา ดวยเรื1องเสถียรภาพของบริษัท ภายใตการนําของ แอนดี้ โกรฟ ผูบริหาร ระดับสูงที่สามารถพลิกฟนใหบริษัทกลับมาตั้งตนใหมไดภายในสี่สัปดาห OKRs ชวยใหอินเทลจัดทําแผนปฏิบัติการในการตอสูเพื1อเอาชนะวิกฤติใน ครั้งนี้ ไดชัดเจน แมนยํา และรวดเร็วราวกับสายฟา พนักงานทั้งหมดของ องคกรรวมพลังหันมาโฟกัสเปาหมายที่ยิ่งใหญที่สุดอันเดียวกัน
65
ยอนกลับไปเมื1อป 1971 วิศกรของอินเทลชื1อ เทด ฮอฟฟ ไดคิดคน ไมโครโปรเซสเซอรอเนกประสงคตน แบบขึน้ เรียกวาเปน “คอมพิวเตอรบน ชิป (Computer-on-chip)” ในป 1975 บิลล เกตส และ พอล อัลเลน ไดลงโปรแกรมอินเทล 8080 รุน ทีส่ าม ซึง่ นับไดวา เปนจุดเริม่ ตนการปฏิวตั วิ งการคอมพิวเตอรสว นบุคคล ในป 1978 อินเทลไดพัฒนาไมโครโปรเซสเซอรความเร็วสูงเปนรุน แรก เปนแบบ 16 บิต รุน 8086 เสร็จและพรอมวางตลาด แตไมนานก็ถูก ตีตลาดดวยไมโครโปรเซสเซอรชปิ จาก 2 รุน ซึง่ มีประสิทธิภาพในการทํางาน เร็วกวา ลงโปรแกรมไดงายกวา นั่นคือรุน 68000 ของโมโตโรลา และรุน Z8000 ของไซล็อก ในชวงปลายเดือนพฤศจิกายน ป 1979 ดอน บัคเอาต ผูจัดการฝาย ขายเขตไดสงขอความจํานวน 8 หนาผานเทเล็กซดวนไปให เคซี่ เพาเวลล เจานายของเขา แลวสงตอไปให แอนดี้ โกรฟ ซึ่งในขณะนั้นเปนประธาน และ CIO การสื1อสารในครั้งนี้ถือเปนสัญญาณเตือนภัยระดับรายแรงที่ใกล ตัวเขามาและกอใหเกิดการประกาศภาวะครูเซดขององคกร (Corporate Crusade หมายถึง การตอสูเพื1อให ไดมาในสิ่งที่เชื1อมั่น ในที่นี้คือการ เอาชนะคูแขง) และภายในหนึ่งสัปดาหหลังจากนั้น ผูบริหารของบริษัทก็ มารวมตัวกันเพื1อรับรูขาวรายนี้ อีกหนึ่งสัปดาหหลังจากนั้น คณะทํางาน เฉพาะกิจที่มีความสามารถสูงของอินเทลไดถูกเรียกตัวมารวมกันเพื1อ วางแผนตอบโต (เหมือนทีมพิเศษของกีฬาอเมริกันฟุตบอลที่ตองลงไป ชวยทีมรุกหรือทีมรับกรณีที่สถานการณของทีมเสียเปรียบ) ทุกคนเห็น พองตองกันวา ไซล็อกไมไดเปนภัยคุกคามที่น;ากลัวมากนัก แตโมโตโรลา ตางหากที่เปนคูแขงที่น;ากลัวเพราะมีความแข็งแกรงราวกับยักษ โกไลแอท ในอุตสาหกรรมและเปนหนึ่งในแบรนดระดับโลก (ยักษ โกไลแอท – เปน นักรบรางยักษที่มีความแข็งแกรงมากไมมีใครสามารถลมเขาลงได) ดูแลว
66
จะเห็นไดชัดวาโมโตโรลาทําตัวเปนอันตรายตอเราเปนอยางมาก จิม แลลลี่ จึงไดประกาศวาสงครามกําลังจะเกิดขึ้นแลว มีบริษัทเดียวเทานั้นที่แขงกับเราอยู นั่นคือโมโตโรลา รุน 68000 เราตองฆาโมโตโรลา และนั่นคือเปาหมายของสงครามนี้ เราตองทําลายมัน เราจะทําลายใหยอยยับ และตองแน/ใจวามันจะ ไมกลับมาอีก นีค่ อื ทีม่ าของการประกาศปฏิบตั กิ ารทีเ่ รียกวา “Operation Crush*” ถือเปนการรณรงค ใหอนิ เทลอยูในตําแหน;งผูน าํ การตลาดตอไป และในเดือน มกราคม ป 1980 ภายใตการนําของ แอนดี้ โกรฟ โดยสั่งการผานวิดีโอไป ยังกองกําลังของเขาซึ่งมีทีมทําลายที่เรียกวา “Crush Teams” ไดกระจาย ตัวไปอยูในสํานักงานทั่วโลก ในไตรมาสที่ 2 พนักงานขายของอินเทลทั้งหมดไดรับทราบ และเริ่ม ใชกลยุทธ ใหม ในไตรมาสที่ 3 พวกเขากําลังกาวเขาสูเปาหมายที่กลาหาญที่สุดใน ประวัตศิ าสตรของวงการเทคโนโลยี นัน่ คือ กลยุทธทเี่ รียกวา “Design Win” เพื1อใหไดรบั ชัยชนะเหนือคูแ ขงโดยมีการทําขอตกลงและสัญญากับลูกคาให ใช 8086 ในอุปกรณและเครื1องมือของพวกเขาทั้งสิ้น 2,000 สัญญา และ ภายในสิ้นปนั้น พวกเขาประสบความสําเร็จในการเอาชนะคูตอสู ในการทํา สงครามครั้งนั้นได อินเทลไมไดพฒ ั นาหรือปรับปรุงผลิตภัณฑตวั ใดเลยในชวงทีต่ อ งตอสู กับคูแ ขงในสงครามการตลาดทีเ่ รียกวา Operation Crush แตโกรฟและคณะ ผูบริหารของเขาเลือกที่จะสรางความผูกพันใหกับลูกคา โดยการปรับแผน กลยุทธการตลาดใหมที่เนนเอาจุดแข็งของบริษัทไปเปนจุดขาย เพื1อชี้ ให *
ชื1อนี้ ไดรับแรงบันดาลใจจากปฏิบัติการที่ชื1อวา Orange Crush ของทีมอเมริกันฟุตบอลเดนเวอร บรอนโคส ในชวงปลายทศวรรษ 1970
67
เห็นวาลูกคาจะไดประโยชนระยะสั้นคือผลิตภัณฑที่ ใชงานไดงาย และ ทําใหลูกคาเห็นคุณคาที่เขาจะไดรับในระยะยาว อินเทลเปลี่ยนกลุม เปาหมายในการนําเสนอขายจากเดิมเคยนําเสนอผานโปรแกรมเมอรของ ลูกคามาเปนนําเสนอขายไปที่ CEO แทน โกรฟไดมอบหมายให บิลล ดาวิโดว หัวหนาแผนกระบบไมโคร คอมพิวเตอรของอินเทลเปนผูนําปฏิบัติการครั้งนี้ ตลอดชีวิตการทํางาน อันยาวนานของบิลล เขาผานการทํางานทั้งเปนวิศวกร เปนผูบริหารของ อุตสาหกรรม ผูเชี่ยวชาญการตลาด ผูรวมลงทุน นักคิด และนักเขียน บิลล ไดสรางคุณประโยชน ใหกับวงการ แตมีอยูอยางหนึ่งที่ผมชอบบิลล มากๆ คือเขาไดตัดตอกิ่งของ OKRs (เหมือนการติดตาตอกิ่งตนไม) โดยเพิ่มคําวา “โดยวัดผลจาก” หรือ a.m.b. – as measured by เขาไป เปนสวนหนึ่งของ OKRs ตัวอยางเชน เราจะบรรลุ‘วัตถุประสงค’ ที่ วัดผล จาก ‘ผลลัพธที่สําคัญ’ ดังตอไปนี้... คําวา a.m.b. ของบิลลไดทําใหทุกคน มีความเขาใจเกี่ยวกับวัตถุประสงคไดชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพราะเขาสามารถ เปลี่ยนสิ่งที่เคยมองไมเห็น จับตองไมได (เปนนามธรรม) มาเปนสิ่งวัดได และจับตองได (รูปธรรม) และนีค่ อื ทีม่ าของการวัดผลลัพธทสี่ าํ คัญทีช่ ดั เจน มากขึ้นนั่นเอง ในป 2013 มีการเสวนาทีพ่ พิ ธิ ภัณฑประวัตศิ าสตรคอมพิวเตอร ทีมบุก ทําลายของอินเทลไดเลายอนถึงความสําคัญของการกําหนดเปาหมายอยาง มีโครงสราง และการนําวัตถุประสงคและผลลัพธทสี่ าํ คัญไปใชตงั้ แตเริม่ ตน จนถึงจุดที่ไดรับชัยชนะ สําหรับ OKRs ของปฏิบัติการ Operation Crush ซึ่งมีตัวอยางอยูในหนา 75 เปนตนแบบ OKRs ที่คลาสสิกมาก เพราะมี กําหนดกรอบเวลาที่แน;นอนและมีความชัดเจน ดวยการบอกวา “อะไร” และ “อยางไร” และที่สําคัญคือนําไปใชแลวไดผลดีมาก
68
จิม แลลลี่ ไดบอกกับผมวา “ผมมีความสงสัยในวัตถุประสงคและ ผลลัพธทสี่ าํ คัญ จนกระทัง่ โกรฟไดนงั่ คุยและเลาใหผมฟงวาทําไมสิง่ เหลานี้ ถึงสําคัญ ถาคุณบอกใหทุกคนไปที่ใจกลางของยุโรป บางคนจะเริ่มเดินทาง ไปฝรั่งเศส บางคนไปเยอรมนี และบางคนไปอิตาลี นั่นคือสิ่งที่ไมควรจะ เปน และถาคุณตองการใหพวกเขาไปที่สวิตเซอรแลนดละ ถาพิกัดของเปา หมายมันไปคนละทิศทาง สุดทายมันจะจบที่ศูนย แตถาคุณใหทุกคนหันไป ในทิศทางเดียวกัน คุณจะไดผลลัพธที่ดีที่สุด นั่นคือสิ่งที่โกรฟไดบอกกับผม และเขายังบอกกับผมอีกวาผมตองสอนเรื1องนี้” ดังที่ บิลล ดาวิโดว ไดเลาไววา OKRs เปนอาวุธลับสําคัญที่โกรฟ ใช ใน Operation Crush เพราะ OKRs เปรียบเสมือนตัวชารจพลังแบบ เทอร โบใหกบั ทีมปฏิบตั กิ ารเพื1อสรางแรงขับเคลื1อนองคกร ตอจากนัน้ องคกร จะขับเคลื1อนไปขางหนาดวยความรวดเร็วและเปนทีน่ า; ตื1นตาตื1นใจมาก จาก การรวมใจกันเปนหนึง่ ของทีมปฏิบตั กิ ารเพื1อมุง ไปสูเ ปาหมายเดียวกัน ทําให โมโตโรลาไมมีโอกาสลุกขึ้นยืนตั้งหลักไดเลย
บิ ล ล ดาวิ โ ดว : ระบบการกํ า หนดผลลั พ ธ ที่ สํ า คั ญ คื อ แนวทางที่ แอนดี้ โกรฟ ใช ในการหลอมรวมพฤติกรรมของคนทํางาน แอนดี้เปนคน มีความคิดเด็ดเดี่ยวและชัดเจนมากที่จะทําใหอินเทลมีความยิ่งใหญ เขาไม สนับสนุนใหคนออกไปทํางานใหกบั องคกรอื1นๆ เพราะถาอินเทลเปรียบเสมือน ชีวิตของคุณแลวคุณจะออกไปทํางานที่อื1นเพื1ออะไร คุณจะตองหลอมรวม วัตถุประสงคและผลลัพธทสี่ าํ คัญทีค่ ณ ุ กําหนดขึน้ มาใหเปนหนึง่ เดียวกันใหได
69
เมื1อคุณไดกา วขึน้ ไปเปนผูบ ริหาร การสอนจะกลายเปนสวนหนึง่ สําหรับ คุณ และนั่นคือสิ่งที่แอนดี้ ไดทํามาโดยตลอด วัตถุประสงคและผลลัพธที่ สําคัญไมใชแคสิ่งที่ฝงอยูในระบบการบริหารจัดการที่อินเทลเทานั้น แตมัน เปนปรัชญาการสอนทีเ่ ราถูกสอนกันมาวา ถาเราวัดผลสิง่ ใดได สิง่ นัน้ จะดีขนึ้ แอนดี้กับทีมบริหารของเราใชเวทีการประชุมในการเขียนเปาหมาย ขององคกรขึน้ มา และเรารวมกันตัดสินใจวา “นีแ่ หละคือเปาหมายของเรา” ผมในฐานะผูจ ดั การแผนกจะนําเอาผลลัพธทสี่ าํ คัญของบริษทั มากําหนดเปน วัตถุประสงคของผม และผมก็นําเอาวัตถุประสงคของผมไปถายทอดตอ ใหกับทีมงานตอ และสัปดาหถัดไปผมจะมีการประชุมพูดคุยกับทีมงานวา เราจะทําอะไรกันบางในไตรมาสนั้น ถาตองการใหระบบ OKRs มีความมั่นคงแข็งแรง แอนดี้บอกวา ผูบริหารตองบอกไดวา “นี่คือสิ่งที่บริษัทกําลังจะทํา” เพราะมันคือสิ่งที่จะ ทําใหทุกคนทุมเทพลังกายพลังใจไปสนับสนุนในเปาหมายเดียวกัน และทุก คนจะรูสึกวาเราเปนสวนหนึ่งในการสรางชัยชนะใหกับทีม และเราตองการ ที่จะเปนผูชนะไปตลอด พนักงานในระดับลางๆ ลงมา เชน พนักงานระดับปฏิบัติงาน วัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญของพวกเขา เกือบรอยเปอรเซ็นตจะ เกีย่ วของกับผลงานตามหนาทีข่ องเขา แตในระดับผูจ ดั การยังมีความรับผิด ชอบที่นอกเหนือจากงานประจําวันตามหนาที่ดวย ถาวัตถุประสงคของผม คือปลูกดอกกุหลาบที่สวยงาม ผมก็จะรูไดเลยวาตองตัดหญาในสนามดวย โดยไมตองมีใครมาบอกผมหรอก ผมแคสงสัยวาผมเคยมีการวัดผลลัพธที่ สําคัญที่จะบอกวา “เดินไปหาพนักงานใหทั่วถึงเพื1อสรางขวัญและกําลังใจ ใหกับพวกเขาซิ” นี่คือตัวอยางการเขียนสิ่งที่เราใหความสําคัญเปนพิเศษ จริงๆ ไมใชเขียนงานประจําวันที่เรารูและตองทําอยูแลว
70
แอนดี้ โกรฟ และ บิลล ดาวิโดว ที่สํานักงานใหญอินเทล, ป 1980
ความเรงดวนของอินเทล ในเดือนธันวาคม ป 1979 ผมเขาไปรวมประชุมกับทีมผูบ ริหารของ แอนดี้ โกรฟ เรามีขอรองเรียนของลูกคาเกี่ยวกับไมโครโปรเซสเซอรรุน 8086 เยอะมาก ผมคิดวาคนของเราน;าจะออกแบบผลิตภัณฑ ใหดีกวานี้ ไดอีก ผมตองการกระตุนใหพวกเขาฮึดสูและกลับมามีความเชื1อในตนเองอีกครั้ง และแอนดี้ ไดบอกผมวา “แกปญหานี้ซะ” นี่คือที่มาของ Operation Crush ที่ไดกลายเปนหนาที่ของผมในเวลาตอมา ระบบ 8086 ไมไดสรางรายได ใหบริษัทมากนัก แตไดสรางแรง กระเพื1อมออกไปเปนวงกวาง แผนกของผมขายเครื1องมือการออกแบบและ ซอฟตแวรพฒ ั นาระบบ สําหรับระบบปฏิบตั กิ ารที่ใชไมโครโปรเซสเซอรของ
71
อินเทล ถึงแมพวกเราจะเติบโตอยางมาก แตมนั ขึน้ อยูก บั การทีล่ กู คาเปนคน เลือกทีจ่ ะใชหรือไมใชไมโครชิปของอินเทลสําหรับผลิตภัณฑของเขา แตเมื1อ เราบุกตลาดไมโครชิปรุน 8086 แลว สิ่งที่เราไดตามมาคือ เราไดสัญญาซื้อ ขายกับลูกคาทีเ่ ปนชิปตัวหนึง่ ทีช่ ื1อวา EPROM (คือชิปแบบ read only ทีล่ ง โปรแกรมได ซึ่งเปนนวัตกรรมของอินเทลในป 1971) และสัญญาการขาย อุปกรณตางๆ เพิ่มขึ้นมาอีก ทําใหยอดขายของเราเพิ่มขึ้นถึง 10 เทาเมื1อ เทียบกับยอดขายในชวงเริ่มตนที่มีแคเพียงการขายรุน 8086 เพียงอยาง เดียว แสดงใหเห็นวายอดขายของสัญญาตางๆ นั้นขึ้นอยูกับความสําเร็จ ของโครโปรเซสเซอรรุน 8086 เพราะถามันลมเหลวเมื1อไหร นั่นหมายถึง ยอดขายระบบงานของผมที่พวงอยูกับรุนนี้ก็จะลมเหลวไปดวย เดิมพันในครัง้ นีส้ งู มาก หลังจากทีเ่ รามีชื1อเสียงจากการเปนผูจ าํ หน;าย เมโมรีชปิ มากอนหนานี้ ตอนนีอ้ นิ เทลกําลังถูกปดลอมจากคูแ ขง เชน เร็วๆ นี้ เราไดเสียตําแหน;งผูน าํ DRAM (หน;วยความจําของคอมพิวเตอรชนิดประหยัด และที่ไดรบั ความนิยม) ใหกบั บริษทั สตารต-อัพทีเ่ กิดใหม และดูเหมือนวาเรา จะไมสามารถเอาคืนกลับมาได ในขณะเดียวกันบริษทั ญีป่ นุ กําลังบุกเขามาใน ธุรกิจที่มีกําไรงามอยาง EPROM ของเรา ไมโครโปรเซสเซอรจึงเปนความ หวังสูงสุดสําหรับอนาคตของอินเทล และเราจําเปนตองกลับมาเปนผูนํา อีกครั้งใหได ผมยังจําสไลดหนาแรกของการนําเสนอสมัยแรกๆ ไดอยูเลย เปาประสงคของปฏิบัติการบุกทําลาย คือการทําใหทุกคนใน องคกรรับรูและตระหนักวา นี่คือวิกฤติที่สําคัญและเรงดวนที่สุดที่ เราตองตัดสินใจและวางแผนเพื1อรับมือกับภัยคุกคามที่มีผลกระทบ ตอชีวิตขององคกรของเรา
72
ทีมกองกําลังปฏิบตั กิ ารของเราเริม่ ตนปฏิบตั ภิ ารกิจนีก้ นั ในวันอังคาร ที่ 4 ธันวาคม เราประชุมพูดคุยติดตอกันสามวัน วันละหลายชั่วโมง มันเปน เรื1องทีท่ า ทายสติปญ ญาและความสามารถของเรามากเลยทีเดียว เหมือนกับ การแกปญหาในการตอจิ๊กซอวชิ้นใหญ เราไมมีเวลามาสราง 8086 ใหมอีก แน;นอน ดังนั้น เราจึงใชเวลาสวนมากไปกับการคิดหาทางออกใหไดวาเรา จะขายอยางไร และเราจะสรางความไดเปรียบในการแขงขันใหเหนือกวา โมโตโรลาไดอยางไร ผมคิดวาเราสามารถเอาชนะการแขงขันในครัง้ นี้ได โดยการสรางเรื1อง ราวทีเ่ ปนจุดขายขึน้ มาใหม เราตองจูงใจใหลกู คารูว า การตัดสินใจเลือกไมโคร โปรเซสเซอรของเขาในวันนี้ จะสงผลดีตอ อนาคตทางธุรกิจในทศวรรษหนา ของเขาไดอยางไร แมวาโมโตโรลาจะเขามา และบอกลูกคาวา “เรามีชุด คําสั่งที่งายกวา” แตเขาก็ ไมสามารถมาแขงกับประสิทธิภาพของกลุม ผลิตภัณฑที่หลากหลายของเราไดทั้งหมดหรอก นอกจากนี้ การที่เราเปน เจาของผลิตภัณฑเองและมีทีมบริการดานเทคนิคยอดเยี่ยม ทําใหเขาเขา มาแขงขันเรื1องราคาและบริการกับเราไดยากอยางแน;นอน ดวยศักยภาพ และความพรอมของอินเทล เราจะตอกยํ้าใหลูกคาเห็นวาเราสามารถชวย ใหสินคาของเขาออกสูตลาดไดเร็วขึ้นดวยราคาที่ถูกลง และเรามีชุดเครื1อง มือและตัวชวยในการออกแบบใหทีมวิศวกรของลูกคาทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โมโตโรลาเปนบริษทั ใหญทที่ าํ ทุกอยางตัง้ แตวทิ ยุสื1อสารและโทรทัศน แบบพกพา สวนอินเทลเราเปนผูนําทางเทคโนโลยีที่ติดอยูกับเมโมรีชิป ไมโครโปรเซสเซอร และระบบที่สนับสนุนอุปกรณเหลานั้น ถาอุปกรณนั้นๆ มีปญหาคุณจะโทร. หาใคร และคุณคิดวาใครคือคนที่คุณจะพึ่งพาอาศัยได เปนดานแรก
73
เรามีไอเดียดีๆ มากมายที่ควรจะนํามาออกแบบเพื1อใหไปดวยกันได จิม แลลลี่ เขียนขอความเหลานี้ ไวบนกระดานไวตบอรด “ตีพมิ พแค็ตตาล็อก สินคาในอนาคต” และ “เตรียมเอกสารการนําเสนอขายในงานสัมมนา 50 แหง และทุกคนทีม่ ารวมงานจะไดรบั แค็ตตาล็อกนัน้ ” ภายในวันศุกรเราตอง มีแผนทีจ่ ะขับเคลื1อนบริษทั และในวันอังคารถัดมา บริษทั ไดอนุมตั โิ ปรแกรม ที่เรียกวา “nine-part program” รวมทั้งคาใชจายโฆษณาอีกหลายลาน เหรียญ ซึ่งเปนสิ่งที่อินเทลไมเคยทํามากอน อีกไมกี่สัปดาหตอมา กลยุทธ ไดกระจายลงไปถึงพนักงานขายที่เตรียมพรอมรอไฟเขียวจากเราอยูอยาง ใจจดใจจอพรอมทีจ่ ะลุยไปขางหนา พวกเขานีแ่ หละคือคนทีส่ ง สัญญาณเตือน เรื1องวิกฤติการณ ในครั้งนี้ใหพวกเราทราบมาตั้งแตชวงแรกๆ เลย ทั้งหมดนี้เริ่มตนกอนชวงคริสตมาส โมโตโรลาเปนบริษทั ทีด่ ี แตมคี วามไวตอการจับสัญญาณความเรงดวน ที่เปนเรื1องวิกฤติแตกตางจากเรา ตอนที่ เคซี่ เพาเวลล กระแทกใสหนา ของเรา เราตอบโตไดภายใน 2 สัปดาห แตตอนที่เรากระแทกใสโมโตโรลา บาง พวกเขาตอบสนองไดไมเร็วมากนัก ผูจัดการคนหนึ่งของโมโตโรลา บอกผมวา “ผมไดรับอนุมัติตั๋วเครื1องบินจากชิคาโกไปแอริโซนาไมทันตอน ที่พวกคุณเปดตัวโครงการนี้ที่นั่น” (ผูเขียนกําลังจะบอกวาโมโตโรลาชากวา อินเทลไปอยางนอยหนึ่งกาว) อินเทลเกงในเรื1องการแปลงสิ่งตางๆ ลงสูภาคปฏิบัติ และโดดเดน เรื1องการสรางโปรแกรมที่ทํางานรวมกัน ในทุกสวนของโปรแกรมที่ชื1อวา “nine project” นั้นไดกลายมาเปนผลลัพธที่สําคัญของบริษัทของเรา นี่คือ OKRs ของบริษัทสําหรับเรื1องปฏิบัติการบุกทําลาย และ OKRs ของวิศวกร ที่เกี่ยวของกับเรื1องนี้ในไตรมาสที่ 2 ของป 1980
74
วัตถุประสงคหลักของบริษัทอินเทล สราง 8086 ใหมีความสามารถสูงสุดในตระกูล ไมโครโปรเซสเซอร 16 บิต โดยวัดผลจาก... ผลลัพธที่สําคัญ (ไตรมาส 2 ป 1980) 1. พัฒนาและประกาศ 5 เรื1องที่ผลิตภัณฑ ในกลุม 8086 มีประสิทธิภาพเหนือกวา (แอพพลิเคชั่น) 2. ออกแบบบรรจุภัณฑของผลิตภัณฑ ในกลุม 8086 ใหมทั้งหมด (การตลาด) 3. นําชิ้นสวน 8 MHz เขาสูกระบวนการผลิต (วิศวกรรม, การผลิต) 4. ตัวอยางของหนFวยประมวลผลทางคณิตศาสตร (Arithmetic Coprocessor) ไมเกินวันที่ 15 มิถุนายน (วิศวกรรม)
วัตถุประสงคหลักแผนกวิศวกรรม (ไตรมาส 2 ป 1980) สงมอบ 8 MHz ของ 8086 จํานวน 500 ชิ้น ใหกับ CGW ภายใน 30 พฤษภาคม ผลลัพธที่สําคัญ 1. พัฒนางานใหเสร็จเพื1อจะขึ้นรูปภายในวันที่ 5 เมษายน 2. สงมอบหนากาก Rev 2.3 ใหกับผูผลิตภายใน วันที่ 9 เมษายน 3. ทดสอบเทปใหเสร็จสมบูรณภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 4. เริ่มผลิตแถบสีแดง ไมเกินวันที่ 1 พฤษภาคม
75
การพลิกสถานการณ ในชวงเริ่มตน บ็อบ นอยซ และ แอนดี้ โกรฟ กลาวเปดงานปฏิบัติ การบุกทําลายที่สํานักงานในซานโฮเซ เขาพูดกับทีมผูบริหารของอินเทล ชัดเจนมากวา “เราจะตองเปนผูนําไมโครโปรเซสเซอรแบบ 16 บิต เรื1อง นี้ถือเปนเรื1องที่ซีเรียสมาก” แอนดี้บอกเหตุผลดวยวาเราตองทําอะไร และ ทําไมตองทําอยางนัน้ และนีค่ อื ภารกิจทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ เราจะตองทําจนกวามัน จะบรรลุเปาหมาย ไมมีการลมเลิกกลางคันอยางแน;นอน ในการประชุมครัง้ นัน้ มีคนราว 100 คน หลังจากการประชุมนีเ้ สร็จสิน้ ลง คําพูดของโกรฟถูกสงไปถึงผูบริหารระดับ 2 และไปถึงระดับที่ 3 ภายใน เวลา 24 ชั่วโมง และคําพูดนี้กระจายออกไปอยางรวดเร็ว ขณะนั้นอินเทล เปนบริษทั ทีม่ มี ลู คาเกือบพันลานเหรียญ และสามารถพลิกสถานการณทเี่ กิด ขึ้นไดอยางคลองแคลวและรวดเร็ว (Turn on a Dime) ผมไมเคยเห็นอะไร แบบนี้อีกเลยจนถึงทุกวันนี้ ความสําเร็จในครั้งนี้เกิดขึ้นไมไดเลย ถาการจัดประชุมของ แอนดี้ โกรฟ ไมไดนําเอาระบบการวัดผลเขามาใช เขาไดอธิบายถึงแนวทางและ วิธกี ารในการทํางานของกิจกรรมตางๆ ภายใตปฏิบตั กิ ารบุกทําลายวาแตละ เรื1องตองทําอยางไร ผมบอกคุณไมไดหรอกวาในอดีตที่ผานมาผมเคยเห็น มากี่ครั้งแลวที่คนเดินออกจากหองประชุมพรอมกับตะโกนวา “เราจะครอง โลก” เพียง 3 เดือนหลังจากนั้นมันก็ ไมมีอะไรเกิดขึ้น การประชุมทําใหคน รูสึกตื1นเตน กระตือรือรน แตพวกเขาไมรูวาตองกลับไปทําอะไร อยางไร ในวิกฤติเราตองการระบบเพื1อสรางการเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว และ ระบบการวัดผลทีส่ าํ คัญนีแ่ หละทีอ่ นิ เทลนํามาใช เพราะมันเปนเครื1องมือให ผูบริหารนําไปใชไดอยางรวดเร็ว และในทันทีที่มีคนมารายงานผลวาเขาทํา อะไรไปบางแลว เราสามารถตัดสินไดเลยวาถูกหรือผิดดวยตัวชีว้ ดั ทีช่ ดั เจน
76
วัตถุประสงคของปฏิบตั กิ ารบุกทําลายถูกกําหนดและกระจายจากบน ลงลาง แตระดับลางจะเปนคนตอบวาแตละวัตถุประสงคนั้นจะทําอยางไร และวัดผลดวยอะไร เพราะในระดับของ แอนดี้ โกรฟ หรือแมแตระดับของ ผม ก็ ไมสามารถรูก ลยุทธหรือวิธกี ารทีจ่ ะเอาชนะการตอสู ในครัง้ นัน้ ไดหรอก ดังนัน้ ขอมูลในเรื1องนีจ้ งึ ตองปอนจากระดับลางขึน้ ไประดับบน คุณสามารถ บอกใหคนทําความสะอาดได แตคนทําความสะอาดจะตองบอกคุณไดวา เขา จะทําความสะอาดอยางไร จะใชอุปกรณเครื1องมืออะไร เมื1อผูบ ริหารระดับสูงบอกวา “เราตองบดโมโตโรลาใหละเอียด!” บาง คนที่อยูในตําแหน;งระดับปฏิบัติก็อาจจะพูดวา “ตัวชี้วัดเรามันหวย ผมคิด วาเราควรจะเขียนตัวชี้วัดใหมที่ดีกวานี้นะ” นี่เปนวิธีการทํางานของเราที่นี่
77
ถึง วิศวกรฝายขายทุกคน จาก แอนดี้ โกรฟ เรื1อง Operation Crush Operation Crush เปนปฏิบตั กิ ารที่ใหญทสี่ ดุ และสําคัญทีส่ ดุ ในดานการตลาดตัง้ แตเรา เคยทํามา เพราะมันสําคัญมากถึงขนาดที่เราตองกําหนดเปนผลลัพธที่สําคัญอันดับ 1 ขององคกร และมันใหญมาก จะเห็นไดจากการที่เราตองใชบุคลากรจํานวนมากพอๆ กับการจางพนักงานจํานวน 50 คนมาทํางานใหเราถึงหนึ่งปเต็มเลยทีเดียว คนกลุมนี้ จะตองทุมเทอยางเต็มที่ใหกับ Operation Crush นี้ใน 6 เดือนขางหนา และสุดทาย คือ การปฏิบัติการครั้งนี้มันสําคัญมาก เพราะมันกระทบตอรายไดของอินเทลมากกวา 100 ลานเหรียญใน 3 ปขางหนา ความสําคัญของ Operation Crush ไมไดดแู คผลกระทบเชิงธุรกิจทีก่ ลาวมาแลวเทานัน้ แตความสําเร็จในครั้งนี้จะสงผลตอแผนกลยุทธธุรกิจในอนาคตของเรา เรามีแผน กลยุทธ ในการสรางโซลูชั่นของระบบคอมพิวเตอรแบบครบวงจร - ในรูปแบบ VLSI ในอีก 18 เดือนขางหนาเราจะประกาศ 4 ซีพียู อุปกรณประกอบ 15 ตัว ผลิตภัณฑ ซอฟตแวร 25 ชนิด และผลิตภัณฑระดับระบบอีก 12 ตัว นี่คือผลกระทบที่สําคัญที่ สามารถจับตองไดวาความสําเร็จของ Operation Crush ในครั้งนี้สําคัญตออนาคต ของเรามากแคไหน ในฐานะทีค่ ณ ุ เปนวิศวกรฝายขาย คุณมีบทบาทสําคัญมากในการทําให Operation Crush นี้สําเร็จ พวกเราตองอาศัยความทุมเทของพวกคุณใน 2 เรื1องคือ x ตองขายโซลูชั่นของไมโครคอมพิวเตอร ขอให ใชแนวทางในคูมือการขายนี้ ไป นําเสนอขายโซลูชั่นใหกับลูกคา ตองเนนการขายแบบเปนชุดหรือเปนเซตทั้ง ฮารดแวรและซอฟตแวร อยาขายแบบแยกสวนหรือแยกรายชิ้นรายผลิตภัณฑ x ตองคิดหาแนวทางที่เปนไปได ในการใชทรัพยากรที่มีอยูใหคุมคา เพื1อกําหนด กลยุทธแนวทางในการขายผลิตภัณฑทมี่ อี ยูใ นปจจุบนั ใหสามารถเอาชนะวิกฤติ ในครั้งนี้ใหได และกรุณาชวยเปนเจาภาพในการจัดทําแผน Operation Crush ดานการขายโซลูชั่นใหดวย หากตองการรูวามีทรัพยากรอะไรบาง กรุณาดูใน เอกสารแนบ จากการรวมมือและใหการสนับสนุนของพวกคุณ ผมมั่นใจวาดวย Operation Crush จะทําให ในทศวรรษ 1980 อินเทลจะประสบความสําเร็จอยางแนQนอน จดหมายจาก แอนดี้ โกรฟ ผูน าํ ทัพในปฏิบตั กิ าร Operation Crush, เดือนมกราคม 1980
78
ยิ่งกวาเกงคือความยอดเยี่ยม (Greater Good) อินเทลอยูในสนามรบทางการตลาดนาน 6 เดือน ผมอยูในฐานะ พนักงานที่ไมมีผู ใตบังคับบัญชาโดยตรง แตผมไดรับการสนับสนุนทุกอยาง ทีผ่ มตองการหรือรองขอ ทีเ่ ปนแบบนีก้ เ็ พราะวาคนทัง้ บริษทั รูว า ภารกิจนีม้ นั สําคัญอยางไรตอแอนดี้ เมื1อไรทีผ่ ลลัพธทสี่ าํ คัญถูกกําหนดมาจากหน;วยงาน ระดับแผนก ไมมีใครแสดงความไมเห็นดวย เพราะถือวาทุกคนขึน้ เครื1องบิน ลําเดียวกันแลว เปาหมายคือเราตองบินไปยังจุดหมาย แมเราจะไมมงี บประมาณ ในบางเรื1องก็ตาม แตเราจะตองจัดสรรทรัพยากรทีม่ อี ยูใหมเพื1อใหเครื1องบิน ลํานี้บินไปยังจุดหมายปลายทางใหได ภารกิจ Operation Crush ทําใหคนทุกคนตัง้ แตผบู ริหารระดับสูงสุด พนักงานขายทุกคน แผนกการตลาดทั้ง 4 แผนก และสํานักงาน 3 แหงใน ภูมิภาคตางๆ รวมกันเปนหนึ่งเดียวกัน* สิ่งหนึ่งที่ทําใหอินเทลแตกตางจาก องคกรอื1นคือ เราไมมีการเมืองในองคกรเลย ผูจัดการทุกคนทุมเททํางาน แบบลืมยศลืมตําแหน;งไปเลยเพื1อใหงานที่ทําออกมาดีที่สุด เชื1อหรือไมวา เมื1อแผนกไมโครโปรเซสเซอรกาํ ลังจะจัดทําแค็ตตาล็อก และมีบางคนเห็นวามีบางอยางผิดปกติ แลวพูดวา “โอ พระเจา อุปกรณ เสริมมันหายไปนะ” แคเสียงจากคําพูดนี้เพียงคําเดียว ก็ ไดยินไปถึงหูของ คนทํางานในแผนกอุปกรณเสริมทันที และแผนกนั้นก็จะจัดสรรวิศวกรดาน นี้มาทําใหทันที
* จากพนักงานทัง้ หมดของอินเทลในขณะนัน้ มีประมาณ 2 พันคน มากกวาครึง่ หนึง่ มีสว นรวมในภารกิจ Operation Crush และคนที่เหลือพรอมที่จะกระโดดลงมาชวยตลอดเวลา
79
พนักงานขายทีม่ หี นาทีจ่ ดั สัมมนาใหลกู คา เขาไมเพียงแคทาํ หนาทีจ่ ดั สัมมนาเทานั้น แตเขาจะมาขอเรียนรูเรื1องของแอพพลิเคชั่นและเรื1องการ ตลาดในแผนกของผมอีกดวย ในขณะทีแ่ ผนกสื1อสารองคกรเองก็พยายามไป หาขอมูลจากแผนกตางๆ มาเพื1อใช ในการแถลงขาวใหครบถวนและถูกตอง มากที่สุด นี่คือเปนความพยายามที่สุดยอดมากๆ ของคนทั้งองคกรในอินเทล ของเรา เมื1อไรที่ผมยอนกลับไปคิดถึง Operation Crush ในครั้งนั้น ผมไม อยากเชื1อวาเราสามารถทําเรื1องนี้ ไดสําเร็จ บทเรียนที่ผมไดจากเรื1องนี้คือ วัฒนธรรมการทํางานรวมกันเปนสิ่งสําคัญมาก แอนดี้เปนคนที่ชอบใหคน ทํางานนําเสนอปญหาใหผูบริหารไดเห็นถึงความสําคัญในเรื1องนั้นๆ วิศวกร ทีอ่ ยูในพืน้ ทีบ่ อกกับผูจ ดั การของเขาวา “คุณไมรอู ะไรหรอก (คุณมันโง) คุณ ไมมีวันเขาใจหรอกวามีอะไรเกิดขึ้นในตลาดบาง” และหลังจากนัน้ 2 สัปดาห พนักงานทัง้ หมดตัง้ แตระดับบนจนถึงระดับ ลาง ตางก็เห็นไปในทางเดียวกันวา การแจงเบาะแสเมื1อพบสิ่งที่ไมถูกตอง หรือทีเ่ รียกวาการเปานกหวีด (Whistleblower) นัน้ เปนการกระทําที่ถกู ตอง เราตองทําอะไรทีแ่ ตกตางออกไป ซึง่ เรื1องนีม้ นั สําคัญมากจน ดอน แบ็คเอาต และ เคซีย เพาเวลล ตัดสินใจพูดออกมาโดยไมกังวลวาจะกระทบตอผลที่ จะตามมา ซึ่งหากไมเกิดเรื1องนี้ ก็คงไมทําใหเกิด Operation Crush ขึ้นได แอนดี้ โกรฟ ชอบพูดตบทายดวยประโยคแบบคมๆ บอยๆ วา “ใน ภาวะวิกฤติ บริษัทแยๆ จะถูกทําลาย บริษัทดีๆ จะอยูรอด แตบริษัทที่ ยอดเยีย่ มจะใชสถานการณวกิ ฤตินนั้ พัฒนาตนเองใหดขี นึ้ กวาเดิม” และนีค่ อื เรื1องราวของ Operation Crush ในป 1986 ตอนที่อินเทลละทิ้งธุรกิจเดิม เกี่ยวกับเมโมรี่ชิปและทุมเทไปที่ไมโครโปรเซสเซอร 8086 และไดสวนแบง
80
การตลาดกลุม 16 บิตมาถึง 85% จะเห็นไดวาราคาของผลิตภัณฑสองกลุม นี้มันแตกตางกันมาก ตัวไมโครโปรเซสเซอร 8088 นี่เองที่ไดสรางชื1อเสียง และนํามาซึ่งรายไดมหาศาลใหกับคอมพิวเตอรสวนบุคคลเครื1องแรกของ IBM ทุกวันนี้ ไมโครคอนโทรลเลอรนับหมื1นๆ ลานชิ้นในคอมพิวเตอรและ รถยนต ตัวตัดอุณหภูมิ และเครื1องปนแยกองคกรประกอบของเลือด ลวน แลวแตทํางานไดดวยนวัตกรรมของอินเทลทั้งสิ้น และเราก็ ไดเห็นแลววาสิ่งเหลานี้จะเกิดขึ้นไมไดเลย ถาไมมี OKRs
81
4
Superpower #1 : โฟกัสและจัดลําดับความสําคัญ เราเลือกเองไดวา เราจะเปนเชนไร หาใชแคความสามารถที่เรามี -เจ. เค. โรวลิ่ง
ารวัดผลในสิง่ สําคัญเริม่ ตนจากคําถามทีว่ า “อะไรคือสิง่ ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ในเวลา 3 เดือน (6 หรือ 12 เดือน) องคกรที่ประสบความสําเร็จให ความสําคัญ (Focus) กับความคิดริเริม่ เพียงไมกเี่ รื1องทีส่ ามารถสรางความ แตกตางไดจริงๆ และชะลอสิง่ ที่ไมเรงดวนออกไปกอน ผูน าํ ขององคกรเหลา นี้ ได ให ความสําคัญ กับเรื1องนี้มากๆ และผูนําเองก็ทําตัวเปนแบบอยางทั้ง คําพูดและการกระทํา การกําหนด OKRs ของผูนําเพียงไมกบี่ รรทัดนีแ่ หละ คือตัวกําหนดทิศทางและกรอบเวลาในการประเมินผล (เราสามารถแกไขผล การตัดสินใจทีผ่ ดิ พลาดไดทนั ทีทเี่ ห็นผลลัพธทเี่ กิดขึน้ เพราะการไมตดั สินใจ หมายถึงการที่เราไมไดเรียนรูอะไรเลย) ดังนั้น ระบบการกําหนดเปาหมายที่มีประสิทธิภาพนั้น ตองเริ่มตน จากการที่ผูนําตองทุมเทเวลาและพลังความคิดอยางมีวินัยในการกําหนด สิ่งที่สําคัญ และตอบคําถามดังตอไปนี้ ได อะไรคือสิ่งที่สาํ คัญที่สุดสําหรับ การทํางานในอนาคตอันใกลนี้ และ คนทํางานทั้งองคกรควรจะทุมเทการ ทํางานไปที่ไหน
ก
82
แมการกําหนดวัตถุประสงคและผลลัพธสาํ คัญจะเปนเรื1องทีย่ ากและ ทาทายก็ตาม แตก็คุมคากับการนํามาใช ผูนําที่มีประสบการณสูงมักจะพูด เสมอวา “ไมมบี คุ คลใดหรือบริษทั ไหนสามารถทําทุกอยางได ในเวลาเดียวกัน” แตการกําหนด OKRs ซึ่งมีทั้งวัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญเพียงไมกี่ เรื1อง สามารถทําใหการทํางานเสร็จตามเปาหมายและเวลาที่กําหนดไดดี กวาและมีประสิทธิภาพมากกวา
ในชวงเริ่มตน การนําเอา OKRs เขามาใช ในระดับองคกรไดดีหรือไม ขึ้นอยูกับ ผูบริหารระดับสูงวาจะใหความสําคัญและจริงจังกับเรื1องนี้มากนอยแคไหน เพราะเขาตองรูว า จะเริม่ ตนจากตรงไหน และตองรูว า อะไรคือสิง่ ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ สําหรับกูเกิลผูบริหารไดเขียนเปนพันธกิจไวเลยวา จัดการขอมูลของโลกเพื1อใหทกุ คนสามารถเขาถึงขอมูลทีม่ ปี ระโยชน นี้ ไดจากทุกๆ ที่ จะเห็นไดวาทั้งแอนดรอยด กูเกิลเอิรท โครม ยูทูบ หรือผลิตภัณฑ อื1นๆ อีกมากมายทีเ่ ปนเครื1องมือการคนหาขอมูลไดรบั การพัฒนาใหดขี นึ้ กวา เดิมอยูตลอดเวลา ในทุกๆ ผลิตภัณฑที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมาลวนแลวแต เริ่มตนมาจากการที่ผูกอตั้งหรือทีมผูบริหารระดับสูงกําหนดเรื1องที่สําคัญไว อยางชัดเจนและเขาใจงายเพียงไมกเี่ รื1อง โดยการกําหนดวัตถุประสงคและ ผลลัพธสําคัญที่ตองการออกมา ไอเดียดีๆ ไมจําเปนตองมาจากคนที่มีตําแหน>งงานที่สูงกวาเสมอไป มีหลายครั้งที่ OKRs ที่มีประสิทธิภาพมาจากการนําเสนอไอเดียจากคนที่ ทํางานอยูหนางานจริง ยกตัวอยางเชน ริค คลาว ผูจัดการผลิตภัณฑของ ยูทูบ รับผิดชอบหนาโฮมเพจที่มีคนเขาเยี่ยมชมมากเปนอันดับ 3 ของโลก เขาเห็นวาปญหาอุปสรรคของยูทูบคือ มีผูเยี่ยมชมเว็บไซตจํานวนนอยมาก
83
ที่ล็อกอินเขามาในยูทูบ ทําใหผูเยี่ยมชมเหลานั้นเสียโอกาสดีๆ ไป ทั้งการ เขาไปเซฟวิดีโอเก็บไว ไปจนถึงการสมัครสมาชิกเพื1อรับขาวสารของชอง ตางๆ ในยูทูบ ปญหานี้ทําใหผู ใชหลายรอยลานคนทั่วโลกไมทราบถึงคุณคา มากมายที่ซอนอยูในยูทูบ ในขณะเดียวกัน บริษัทก็สูญเสียขอมูลที่มีมูลคา มหาศาลไปดวย สําหรับแนวทางการแกปญหานี้ ทีมของริคแบง OKRs ระยะ 6 เดือนออกมาเพื1อพัฒนาใหคนล็อกอินเขามาสัมผัสกับประสบการณ ดีๆ ในชองยูทูบได พวกเขาไดนําเรื1องนี้ ไปปรึกษาและนําเสนอแนวทางกับ ซาลาร คาแมนการ ซึง่ เปน CEO ของยูทบู และซาลารไดนาํ เรื1องนี้ ไปปรึกษา กับ แลรรี่ เพจ CEO ของกูเกิล และในที่สุดแลรรี่ก็นําเรื1องการล็อกอินเขา ยูทูบนี้ ไปกําหนดเปนวัตถุประสงคหลักของกูเกิลทั้งบริษัท และเรงใหแก ปญหานี้ภายใน 3 เดือนไมใช 6 เดือน เพื1อแสดงใหเห็นวาเรื1องนี้เปนเรื1อง ที่สําคัญและเรงดวนสําหรับบริษัทจริงๆ เมื1อ OKRs เรื1องนี้ถูกหยิบยกขึ้นมาใหมีความสําคัญในลําดับตนๆ ขององคกรแลว ริคกลาววา “ทุกคนในบริษัทตางใหความสนใจกับทีมของ เรามากจริงๆ เราเองก็ยังไมรูเลยวาจะทํามันไดอยางไรภายใน 3 เดือน แต ในฐานะที่เราเปนเจาภาพ OKRs ขอนี้ของบริษัท แสดงใหเห็นวางานของ เรามันสําคัญมากจริงๆ” จากการที่แลรรี่ใหความสําคัญตอเปาหมายของผู จัดการผลิตภัณฑอยางมาก มันชวยทําใหการทํางานของทุกทีมมีความชัดเจน มากขึ้น แมแตทีมงานในภารกิจ Operation Crush ทุกคนก็ยกขบวนกันมา ชวยใหกลุม ของริคประสบความสําเร็จ ในทีส่ ดุ ทีมยูทบู ก็ทาํ สําเร็จตามกําหนด เวลา ถึงแมวาจะชาไป 1 สัปดาหก็ตาม ผูน าํ ไมใชแคคนทีก่ าํ หนดเปาหมายระดับสูงของบริษทั เทานัน้ แตเขาจะ ตองกําหนดเปาหมายสวนตัวของเขาเองดวย คุณคาไมสามารถถายทอดผาน การจดบันทึกไดฉันใด* การกําหนดเปาหมายอยางมีโครงสรางก็ ไมสามารถ ทําใหเกิดขึ้นจริงไดดวยการออกคําสั่งไดฉันนั้น * จากการสังเกตของ แอนดี้ โกรฟ ในหนังสือชื1อ High Output Management
84
ในบทที่ 6 ผูอานจะไดเห็นวา จีนี่ คิม เจาหนาที่ของบริษัทนูน>า บอก วาสิง่ ทีท่ าทายสําหรับผูน าํ คือการประกาศ OKRs และแสดงใหทกุ คนเห็นวา ผูนําเปนผูรับผิดชอบกับเปาหมายนั้นๆ รวมกันกับพนักงาน เมื1อไหรก็ตามที่ผมไดยิน CEO พูดวา “เปาหมายทั้งหมดของผม/ฉัน คือเปาหมายพวกคุณทัง้ ทีม” เขาจะรูส กึ วานัน่ คือการปฏิเสธความรับผิดชอบ ตอ OKRs ของ CEO ซึ่งเปนสิ่งที่ไมควรทํา เพราะพนักงานรูสึกวาผูนําขาด ความรับผิดชอบตอสิ่งที่ตัวเองกําหนดขึ้นมา การพูดเพียงวาระบบ OKRs คืออะไร ยังไมเพียงพอที่จะทําให ระบบนี้เกิดขึ้นไดจริงหรอก ผมขอยกคําพูดของ บิลล แคมปเบลล CEO ของอินทูอิต ซึ่งภายหลังไดมาเปนโคชใหกับทีมผูบริหารของกูเกิล เขาได ใหขอคิดวา “เมื1อคุณเปน CEO หรือผูกอตั้งบริษัท คุณตองพูดวา นี่คือสิ่ง ที่เรากําลังทํา และคุณก็ตองทําใหดูเปนตัวอยาง เพราะมิฉะนั้นจะไมมีใคร ทําสิ่งนั้นหรอก”
การสื1อสารที่ชัดเจน การกําหนดเปาหมายองคกรใหชดั เจน และการสื1อสารใหคนทัง้ องคกร เขาใจเปาหมายเหมือนๆ กันนั้น คือปจจัยสําคัญที่จะทําใหคนทั้งองคกรมี สวนรวม สามารถตัดสินใจได และชวยกันทําใหผลงานสูงกวาเปาหมายที่ กําหนดเอาไว จากการสํารวจขอมูลพบวา จํานวน 2 ใน 3 ของบริษทั ทีท่ าํ การสํารวจ ทัง้ หมดลมเหลวในเรื1องการสื1อสารเปาหมายองคกรสูพ นักงาน และผลการสํารวจ ผูบ ริหารระดับสูงและผูจ ดั การจํานวน 11,000 คน พบกวาบุคลากรสวนใหญ ไมสามารถบอกไดวาเรื1องที่สําคัญที่สุดของบริษัทมีอะไรบาง มีพนักงาน เพียง 50% เทานั้นที่ตอบคําถามไดแคคนละ 1 ขอ
85
คนเปนผูนําตองใสใจและเขาใจในรายละเอียดขององคกร โดย เฉพาะคําถามที่เริ่มตนดวยคําวา “อะไร (What)” และ “ทําไม (Why)” คนทํางานไมตอ งการรูแ คเพียงวาเขาจะตองทําอะไร และเมื1อไหรเทานัน้ แต เขาตองการรูคําตอบวา อะไรคือสิ่งที่สําคัญ และทําไปทําไม เพราะคําตอบ นี้จะมีผลตอการสรางแรงจูงใจใหกับเขา คนทํางานอยากรูความหมายของ เปาหมาย เพื1อใหรูวาสิ่งที่เขาทํามีความสัมพันธกับเปาหมายองคกรอยางไร ซึ่งในความเปนจริงการสื1อสารไมไดหยุดอยูแคการประกาศ OKRs ประจํา ไตรมาสใหพนักงานรับทราบเทานั้น เหมือนกับที่ เจฟฟ ไวเนอร CEO ของ ลิงกอิน ชอบพูดวา “เมื1อไหรที่คุณรูสึกวาพูดจนเหนื1อยแลว เวลานั้นแหละ ที่คนของคุณจะเริ่มไดยิน”
ผลลัพธที่สําคัญ : ความใสใจและการใหขอมูล วัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญ ก็เหมือนหยินกับหยางของการ กําหนดเปาหมาย เปนสิ่งที่ตองไปคูกันเสมอ เมื1อมีหลักวิชาการก็ตองมีภาค ปฏิบัติ หรือถามีวิสัยทัศน ก็ตองมีแผนการนําไปใชจริง วัตถุประสงคคือ จุดหมายปลายทางทีจ่ ะสรางแรงบันดาลใจใหคนอยากไปใหถงึ สวนผลลัพธที่ สําคัญคือการวัดผลสําเร็จในการขับเคลื1อนใหคนเดินไปสูจ ดุ หมาย โดยปกติ แลวอาจจะมีตัวชี้วัดผลสําเร็จเพียงหนึ่งขอหรือหลายขอก็ ได เชน รายได การเติบโต จํานวนผู ใช คุณภาพ ความปลอดภัย สวนแบงการตลาด ความ ผูกพันของลูกคา ปเตอร ดรักเกอร กลาววาเพื1อที่จะทําใหกระบวนการนี้ น>าเชื1อถือ ผูจัดการจะตอง “สามารถวัดผลการทํางานและผลลัพธที่เกิดขึ้น เทียบกับเปาหมายได”
86
ถาพูดอีกนัยหนึง่ ผลลัพธทสี่ าํ คัญเปรียบเสมือนไมคานที่ใชเหยียบลง เพื1อใหอกี ดานหนึง่ กระดกขึน้ ไปดีดใหเปาหมายทีก่ าํ หนดไว ใหแตก ถากําหนด วัตถุประสงค ไวดีมีความชัดเจน ผลลัพธที่สําคัญเพียง 3-5 เรื1องก็เพียง พอที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงคไดแลว เพราะถามีผลลัพธที่สําคัญจํานวน มากเกินไปจะทําใหขาดโฟกัส นอกจากนี้ ผลลัพธที่สําคัญแตละขอควรจะมี ความทาทายมากพอ เพราะถาคุณสามารถบรรลุเปาหมายนั้นได แสดงวา เปาหมายที่กําหนดไวนั้นอาจจะงายเกินไปหรือออนเกินไป
อะไร เมื1อไหร และอยางไร ถึงแมวา OKRs จะเปนเรื1องทีแ่ ปลกใหมสาํ หรับการทํางานตามลําดับ ความสําคัญ แตมนั ก็จะชวยใหการทํางานทุกอยางงายขึน้ ได บางบริษทั เริม่ นํา ไปใช โดยเริม่ ตนจากการเปลีย่ นเปาหมายสวนบุคคลใหมาเปนเปาหมายของ สวนรวม บางองคกรก็เริ่มเปลี่ยนจากเดิมที่เคยกําหนดเปาหมายจากระดับ บนลงลาง มาเปนการรวมมือกันกําหนดเปาหมายมากขึ้น สําหรับแนวทางที่ ดีที่สุดสําหรับการปรับเปลี่ยนระบบจากเดิมมาสูระบบใหมคือการทําคูขนาน กันไประหวางระบบเกากับระบบใหม ตองเขาใจวาเปาหมายประจําปของ องคกรก็ยังคงอยูเหมือนเดิม ที่เพิ่มเติมคือการนําเอา OKRs เขามาใชเพื1อ ทําใหเปาหมายระยะสั้นสําเร็จไดดียิ่งขึ้น เพราะเปาหมายสามเดือนนี่แหละ คือสิ่งที่สะทอนการทํางานไดจริงและชัดเจนกวา การกําหนดกรอบเวลาทีช่ ดั เจนจะชวยใหเรามุง มัน่ และจริงจังกับการ ทําเปาหมายใหสาํ เร็จภายในเวลาทีก่ าํ หนดไดดกี วา ยิง่ ในปจจุบนั สถานการณ ของตลาดโลกเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว จากประสบการณของผมพบ วาการกําหนด OKRs รายไตรมาสเปนสิ่งที่ดีที่สุด เพราะเราจะไมเสียเวลา เถลไถลไปกับเรื1องอื1นๆ ที่ไมสําคัญ และชวยใหเราบรรลุเปาหมายไดดีกวา ดังคํากลาวที่ แอนดี้ โกรฟ พูดถึงหนังสือ High Output Management ซึ่งเปนคัมภีรการบริหารที่เขายกยองวา
87
การใหฟด แบคผลการทํางานทีม่ ปี ระสิทธิภาพนัน้ ควรจะดําเนิน การใหฟด แบคทันทีทผี่ ลการทํางานนัน้ เกิดขึน้ นีค่ อื เหตุผลวาทําไมใน ระบบ OKRs ตองกําหนดวัตถุประสงคดว ยระยะเวลาสัน้ ๆ ยกตัวอยาง เชน ถาเราวางแผนรายป การใหฟดแบคสําหรับ OKRs อยางนอย ควรจะทําทุกไตรมาสหรือทําทุกๆ เดือนก็ ได ระบบนี้ไมใชลทั ธิความเชื1อทางศาสนาทีต่ อ งเชื1อและทําตาม เพราะไมมี ระบบไหนที่จะเหมาะสมกับทุกองคกร ทุกคน หรือทุกสถานการณ ตัวอยาง เชน ทีมวิศวกรอาจจะเลือกรอบเวลาในการทํา OKRs ทุก 6 สัปดาห เพื1อ ใหสอดคลองกับความเร็วของงานพัฒนา และบริษทั ทีเ่ พิง่ ตัง้ ใหมและยังอยู ระหวางการมองหาผลิตภัณฑที่เหมาะสมกับตลาดอยูก็อาจจะกําหนดรอบ ของ OKRs เปนรายเดือนก็ ได ดังนั้น การกําหนดรอบเวลาของ OKRs จึง ขึ้นอยูกับบริบท สถานการณ วัฒนธรรมองคกรของแตละธุรกิจมากกวาที่ จะยึดแบบใดแบบหนึ่ง
การจับคูการวัดผลลัพธที่สําคัญ ประวัตศิ าสตรทนี่ า> อับอายของรถฟอรด รุน พินโต แสดงใหเห็นถึงดาน หนึ่งที่เปนขอพึงระวังของ OKRs ในป 1971 บริษัทฟอรดตองการที่จะแยง สวนแบงการตลาดสําหรับรถที่ประหยัดนํ้ามันจากบริษัทคูแขงคือญี่ปุนและ เยอรมนีมาใหได บริษัทฟอรดไดสงพินโตซึ่งเปนรถขนาดเล็กราคาประหยัด เขาสูตลาด เนื1องจาก ลี ไอเอค็อกคา ซึ่งเปน CEO ตองการไดยอดขายที่ สูงมากเกินไป จนทําใหผจู ดั การผลิตภัณฑเรงผลิตจนมองขามการตรวจสอบ ความปลอดภัยทัง้ ในขัน้ ตอนของการวางแผนและพัฒนารถรุน นี้ ยกตัวอยาง เชน ถังนํ้ามันของรถโมเดลใหมนี้ถูกติดตั้งหางจากกันชนหลังที่บอบบาง เพียง 6 นิ้วเทานั้น
88
ดวยเหตุนี้จึงทําใหรถรุนพินโตกลายเปนรถที่เสี่ยงตอการเกิดไฟไหม เวลาเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งวิศวกรของฟอรดก็ทราบถึงขอเท็จจริงนี้ แตบริษัทก็ ทุม เทกับการทําการตลาดอยางมาก เพราะตองการใหรถรุน นีม้ นี าํ้ หนักไมเกิน 2,000 ปอนดและราคาไมเกิน 2,000 เหรียญ (เปรียบเทียบใหเห็นภาพวา รถนํ้าหนักเบาในราคาเบาๆ นั่นเอง) นี่คือนโยบายที่ถูกกําหนดมาจาก CEO “ดวยคําสั่งตามนโยบายนี้ ผลจากการทดสอบการชนพบวาไมมีชิ้นสวนที่ใช สําหรับปดรูเล็กๆ ของถังนํ้ามัน ซึ่งชิ้นสวนพลาสติกนี้มีราคาเพียง 1 ปอนด หรือ 1 เหรียญเทานั้น เนื1องจากชิ้นสวนนี้ถูกตัดออกเพราะนํ้าหนักเกินและ ตนทุนเกินกวาที่กําหนดไว” จากเอกสารภายในบริษทั พบวาไดมกี ารกําหนดวัตถุประสงคหลักของ รถรุนนี้ ไว 3 ขอคือ x x x
“กะทัดรัดอยางแทจริง” (มีขนาดเล็กและนํ้าหนักเบา) “เปนเจาของได ในราคาไมแพง” (ราคาเริม่ ตน อัตราการสิน้ เปลือง นํ้ามัน ความน>าเชื1อถือ การบริการ) “ความเหนือชั้นของผลิตภัณฑ” (ภาพลักษณ ความสบาย การใช งาน การขับขี่ และสมรรถนะ)
จะเห็นไดวาในเอกสารไมมีคําวาความปลอดภัยอยูในสวนไหนของ วัตถุประสงคเลย คนนับรอยเสียชีวติ และคนนับพันไดรบั บาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุกรณีชน ทายรถพินโต ในป 1978 ทางฟอรดทําการชดใชความเสียหายจากการเรียก คืนรถพินโตและเมอรควิ รีบ่ อ็ บแคตสรถในตระกูลเดียวกัน รวมทัง้ สิน้ จํานวน 1.5 ลานคัน ทําใหผลประกอบการและชื1อเสียงของบริษทั เสียหายอยางหนัก ถือเปนประวัติศาสตรครั้งใหญที่สุดในวงการอุตสาหกรรมรถยนต
89
เมื1อมองยอนกลับไป ฟอรดไมไดขาดวัตถุประสงคและผลลัพธสาํ คัญ แตกระบวนการกําหนดเปาหมายผิดพลาดรายแรงตางหาก “เปาหมาย ที่เฉพาะเจาะจงและทาทายนั้นบรรลุได (ความเร็วในการเขาตลาด การ ประหยัดพลังงาน และราคา) แตแลกมาดวยองคประกอบสําคัญที่ไมไดระบุ ลงไป (ความปลอดภัย พฤติกรรมทีม่ จี รรยาบรรณ และชื1อเสียงของบริษทั )” มีขอควรระวังอีกเรื1องหนึ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นมาเมื1อไมนานมานี้คือ กรณี อื้อฉาวของธนาคารเวลสฟาร โก ซึ่งไดตั้งเปาการขายที่โหดมากเพียงมิติ เดียว ทําใหผูจัดการสาขาจํานวนมากรูสึกกดดันจนถึงขั้นตองเปดบัญชีเท็จ นับลานบัญชีใหกับลูกคาทั้งที่ลูกคาไมตองการและไมจําเปนตองเปดเลย มีกรณีหนึ่งที่ลูกสาวของผูจัดการมีบัญชีธนาคารมากถึง 24 บัญชี และสามี ของเธอมี 21 บัญชี สงผลใหพนักงานธนาคารกวา 5 พันคนถูกไลออก บัตร เครดิตของธนาคารและบัญชีเช็คลดฮวบฮาบไปมากกวาครึง่ เหตุการณครัง้ นัน้ ทําใหแบรนดเวลสฟาร โกเสียหายหนักจนเกินจะเยียวยาใหกลับคืนมาได ยิ่ง OKRs มีความทาทายมากเทาไร ก็ยิ่งมีความเสี่ยงที่คนทํางานจะ ละเลยเรื1องทีส่ าํ คัญๆ ไป เชน เนนปริมาณมากเกินไปจนละเลยเรื1องคุณภาพ สําหรับทางออกในการปองกันปญหานี้คือ การจับคูการวัดผลลัพธที่สําคัญ คือ “วัดทั้งดานที่มีประสิทธิผลและดานที่เปนการปองกันผลกระทบเชิงลบ” ดังที่โกรฟไดเขียนไว ใน High Output Management วา เมื1อใดทีเ่ ราโฟกัสทีผ่ ลลัพธ สิง่ ทีค่ วรวัดควบคูก นั ไปคือคุณภาพ ดังนั้น การวัดในระบบบัญชีเจาหนี้ การวัดจํานวนของใบสําคัญจาย ที่รับเขามาดําเนินการ ควรวัดควบคูไปกับจํานวนใบสําคัญจายที่ ผิดพลาด ทั้งที่ถูกตรวจพบโดยผูตรวจสอบบัญชีหรือซัพพลายเออร อีกตัวอยางคือ การวัดจํานวนตารางฟุตของพื้นที่ที่มอบหมายให คนมาทําความสะอาดอาคาร ควรควบคูไปกับการวัดระดับคะแนน ประเมินผลคุณภาพของความสะอาดที่ถูกประเมินโดยผูจัดการของ อาคารนั้นๆ ดวย
90
ตารางที่ 4.1 การจับคูของผลลัพธที่สําคัญเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ เปาหมายเชิงปริมาณ ฟเจอร ใหม 3 ฟเจอร
เปาหมายเชิงคุณภาพ
ผลลัพธ
จํานวนขอบกพรอง (Bugs) นักพัฒนาเขียนโคดไดสะอาด ตองนอยกวา 5 ตัวตอหนึ่ง (Clean) มากขึ้น ฟเจอร ในกระบวนการ ทดสอบการประกันคุณภาพ
มูลคายอดขาย 50 ลาน รักษายอดขายจากสัญญา เหรียญ ในไตรมาสที่ 1 เดิมได 10 ลานเหรียญ ในไตรมาสที่หนึ่ง
พนักงานขายตองทําใหเกิดความ ยั่งยืนในการขาย โดยการเพิ่ม อัตราความสําเร็จในการขายและ เพิ่มอัตราความพึงพอใจของ ลูกคา
เขาพบลูกคา จํานวน 10 ครั้ง
คุณภาพของลูกคาจะนําไปสูการ ไดออเดอร ใหมตามที่กําหนดไว
ไดยอดขายใหมจากลูกคา 2 ออเดอร
ความสมบูรณแบบกับความพอดี ครั้งหนึ่ง ซันดาร พิชัย CEO ของกูเกิล เคยพูดกับผมวา ทีมของ เขาเปนกังวลกับกระบวนการในการกําหนดเปาหมาย “เปนไปไดวา OKRs แสนธรรมดาหนึง่ ประโยค อาจทําใหเราตองใชเวลาถึงหนึง่ ชัว่ โมงครึง่ ในการ วิเคราะห ใหแน>ใจวาสิ่งที่เรากําลังโฟกัสและลงมือทําจะสงผลที่ดีขึ้นสําหรับ ผู ใชของเรา” นี่คือความรับผิดชอบของเรา ดังคํากลาวของวอลแตรที่วา “อยาใหความสมบูรณแบบมาเปนศัตรูกับความพอดี”* จงจําไววา OKRs อาจจะถูกปรับเปลี่ยนหรือยกเลิกไปเมื1อไหรก็ ได โดยไมจําเปนตองรอให ครบไตรมาส บางครั้งผลลัพธสําคัญที่ถูกตองจะปรากฏใหเราเห็นหลังจาก เราลงมือทําเปาหมายนั้นเปนสัปดาหๆ หรือเดือนๆ ก็ ได ดังนั้น ตองเขาใจ วา OKRs เปนกระบวนการที่มีโอกาสเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา เพราะมัน ไมใชหลักศิลาจารึกหรือบทบัญญัตทิ แี่ กะสลักอยูบ นแผนหินทีเ่ ราไมสามารถ แกไขเปลี่ยนแปลงอะไรได *
ดังที่ เชอริลล แซนดเบิรก ไดกลาวววา “ทําใหเสร็จดีกวาความสมบูรณแบบ”
91
การกําหนดผลลัพธที่สําคัญควรคํานึงถึงกฎพื้นฐาน 3 ขอคือ กระชับ (Succinct) เฉพาะเจาะจง (Specific) และสามารถวัดผลได (Measurable) ผลลัพธที่สําคัญ ตอง มีความสัมพันธกับวัตถุประสงคอีกดวย นั่นก็คือ ผลลัพธทสี่ าํ คัญทุกขอรวมกันก็ตอ งทําใหวตั ถุประสงคขอ นัน้ ๆ บรรลุเปาหมาย ไดแน>นอน ถาไมเปนแบบนี้แสดงวาไมใช OKRs (โดยสามารถอานคูมือที่ ละเอียดกวานี้ใน “Google’s OKRs Playbook” ในสวนทายเลม) ตารางที่ 4.2 ตัวอยางการพัฒนาระดับคุณภาพของ OKRs ระดับออน วัตถุประสงค : ชนะ การแขงรถรายการ Indy 500 ผลลัพธสําคัญ : เพิ่ม ความเร็วรอบ ผลลัพธสําคัญ : ลด เวลาซอมระหวางแขง
ระดับปานกลาง
ระดับเขมแข็ง
วัตถุประสงค : ชนะการ แขงรถรายการ Indy 500
วัตถุประสงค : ชนะการแขงรถ รายการ Indy 500
ผลลัพธสําคัญ : เพิ่ม ความเร็วรอบเฉลี่ย 2% ผลลัพธสําคัญ : ลดเวลา เฉลี่ยการซอมระหวางแขง ลง 1 วินาที
ผลลัพธสําคัญ : เพิ่มความเร็ว รอบเฉลี่ย 2% ผลลัพธสําคัญ : ซอมทดสอบ วิ่งในอุโมงคลม 10 ครั้ง ผลลัพธสําคัญ : ลดเวลาเฉลี่ย การซอมระหวางแขงลง 1 วินาที ผลลัพธสําคัญ : ลดความผิด พลาดของการซอมระหวางแขง ลง 50% ผลลัพธสําคัญ : ฝกซอมการ เขาซอมระหวางแขง 1 ชั่วโมง ตอวัน
นอยคือมาก ความเชื1อของ สตีฟ จ็อบส คือ “นวัตกรรมคือการปฏิเสธสิ่งตางๆ นับพันอยาง” โดยหลักการแลวจํานวน OKRs ตอไตรมาสควรอยูระหวาง 3 ถึง 5 เรื1อง ในความเปนจริงองคกรอยากมีใหมากกวานี้อีก แตถามีมากกวา นี้แลวมักจะกอใหเกิดความผิดพลาดขึ้นได เชน ถามีจํานวนวัตถุประสงค
92
มากเกินไป อาจจะทําใหเราขาดโฟกัสในเรื1องที่เราตองการและสําคัญจริงๆ เพราะเรามัวแตไปสนใจกับบางเรื1องที่ไมสาํ คัญแตมนั ดูนา> ตื1นตาตื1นใจ ทําให เราเถลไถลเสียเวลากับเรื1องทีส่ าํ คัญนอยไปก็ ได สุดทายเรื1องทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ก็ ไมบรรลุเปาหมาย จะเห็นไดจากการที่ ไมค ลี CEO ของแอพพลิเคชั่นออกกําลังกาย ชื1อ มายฟตเนสพัล (MyFitnessPal) ไดกลาววา “เราทิง้ หลายสิง่ หลายอยาง ไปจํานวนมาก กอนหนานี้เราอยากทําหลายสิ่งหลายอยางใหสําเร็จ แตขาด ความชัดเจนในการจัดลําดับความสําคัญของสิ่งเหลานั้น สุดทาย จึงตัดสิน ใจวาเราจะกําหนด OKRs เพียงไมกี่ขอเพื1อใหแน>ใจวานี่คือสิ่งที่สําคัญที่สุด สําหรับเรา” โดยสวนตัวแลวสิง่ ทีผ่ มคนพบทีอ่ นิ เทลคือ การกําหนดเปาหมายเฉพาะ เจาะจงคือ ขอกําหนดแรกที่ปองกันไมใหเราอยากทําอะไรมากจนเกินความ จําเปน ในแตละไตรมาสพนักงานแตละคนตองไปพูดคุยปรึกษากับหัวหนา ในการกําหนด OKRs สําหรับไตรมาสนั้นๆ ถาตองการจะเพิ่มวัตถุประสงค หรือผลลัพธที่สําคัญก็ ได แตตองใหเหมาะสมสอดคลองกับเปาหมายหลัก ขององคกรในชวงเวลานัน้ ๆ ดวย ซึง่ ตองตอบคําถามของหัวหนาได ตัวอยาง เชน เปาหมายใหมดีกวาเปาหมายเดิมที่มีอยูใชไหม ถาเพิ่มเรื1องใหมเขามา เราอาจจะตองตัดบางเรื1องทิ้งไปใชไหม หรือตองลดเปาบางเรื1องลงใชไหม ในองคกรทีม่ กี ารใช OKRs อยางเปนระบบ เราจะไมไดยนิ หัวหนาสัง่ งานลูกนองวา “ทําเรื1องนัน้ เพิม่ ทําเรื1องนีเ้ พิม่ อีกซิ” เพราะระบบการสัง่ งาน ของหัวหนามักจะนํามาซึ่งคําถามจากลูกนอง และหนึ่งในคําถามยอดฮิตคือ “ทีห่ วั หนาสัง่ ๆ มาทัง้ หมดนัน้ อะไรสําคัญทีส่ ดุ ” ดังนัน้ จะเห็นวาระบบการสัง่ งานแบบบนลงลางที่เคยใชไดดีในอดีตนั้น ไมสามารถนํามาใช ในองคกรได อีกตอไป พูดงายๆ วาหมดยุคของการทํางานตามสั่งไปโดยปริยาย
93
เมื1อพูดถึงเรื1องการกําหนดเปาหมาย แอนดี้ โกรฟ ใหความสําคัญ มากกับแนวคิดที่วา “นอยคือมาก” ดูไดจากคํากลาวดังตอไปนี้ สิ่งหนึ่งที่จะทําใหระบบ OKRs ยอดเยี่ยมคือการมีโฟกัส สิ่ง นี้จะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื1อเราตองพยายามกําหนดวัตถุประสงค ใหมี จํานวนนอย ทุกครั้งที่เราสัญญาวาจะทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หมายถึงเรา เสียโอกาสในการทําบางสิ่งบางอยางไป แตนี่คือสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได และหนีไมพนเรื1องการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด คนที่ทํา เรื1องนี้ตองมีความซื1อสัตย มีวินัย และกลาตัดสินใจมากพอที่จะตอบ ปฏิเสธโครงการบางอยางได และกลาทีจ่ ะยิม้ รับและตอบรับการริเริม่ โครงการบางอยางไดดว ยเชนกัน เราจะตองรูด วี า เราตองลงมือทําใน สิ่งที่จําเปนและสําคัญจริงๆ เทานั้น เพราะการที่เราโฟกัสทุกอยาง มีคาเทากับไมโฟกัสอะไรเลย เหนือสิ่งอื1นใด วัตถุประสงคหลักคือ สิ่งที่สําคัญมากที่สุด ดังนั้น หัวขอ OKRs จึงไมใชรายการของสิ่งที่เราอยากจะได และไมใชงานตาม หนาที่ปกติที่ทีมงานเราตองทําเปนประจําอยูแลว แต OKRs คือเปาหมาย หลักขององคกรทีท่ กุ คนตองใหความสําคัญเปนพิเศษและชวยทําใหคนทํางาน ทุกคนเดินไปขางหนาดวยจุดมุงหมายเดียวกัน และมันชวยกันเชื1อมโยง เปาหมายไปถึงทุกคนในองคกรเพื1อใหเกิดผลสําเร็จดีกวาทีเ่ ราคาดหวังหรือ กําหนดเอาไว ดังที่โกรฟเขียนไว ในหนังสือ “The Art of Management” เขาไดอธิบายวา “จงเริม่ ตนจากความสามารถทีเ่ รามีอยู แลวพิจารณาวาควร จะเลือกทําอะไรเพียงสองสามอยางเทานั้น ใหลองเปรียบเทียบดูวาสิ่งที่เรา เลือกมาทําสองสามอยางนัน้ คือสิง่ ทีจ่ ะสรางผลงานใหกบั องคกรไดมากกวา สูงกวาเรื1องอื1นๆ ทีเ่ ราไมไดเลือก และเมื1อตัดสินใจเลือกแลวก็จงจดจอทุม เท ทําสิ่งนั้นใหสําเร็จ”
94
แลรรี่ เพจ เองก็ ไดพูดถึงเรื1องนี้ ไวเหมือนกันวา องคกรที่ประสบ ความสําเร็จ “ตองโฟกัสในสิ่งที่มีความสําคัญ ทําใหไดดีในสิ่งที่โฟกัส และ ละทิ้งสิ่งที่ไมสําคัญ” และนี่คือหัวใจของพลังวิเศษ (Superpower) ขอแรก ของเราที่เราเรียกวา “Focus and Commit to Priorities” (โฟกัส และ จัดลําดับความสําคัญ)
95
5
โฟกัส : เรื1องราวของรีมายดแอพพลิเคชั่น เบรตต คอปฟ ผูรวมกอตั้ง
มั
นไมใชเรื1องใหมที่ระบบการศึกษาของสหรัฐอเมริกาตองการความ ชวยเหลือเพื1อการเปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ ขี นึ้ จากผลการศึกษาวิจยั ของมหาวิทยาลัยบราวนชี้ใหเห็นวา แนวทางหนึ่งที่จะชวยพัฒนาระบบการ ศึกษาใหดขี นึ้ คือระบบการสื1อสารระหวางคุณครูและครอบครัวของนักเรียน ในชวงภาคการศึกษาฤดูรอน คุณครูของนักเรียนเกรดหกได ใชวิธี การติดตอสื1อสารกับผูปกครองผานทางโทรศัพทหรือไมก็สงขอความ เขียน ขอความสงไปยังทางบานของนักเรียนทุกวัน ดวยวิธีการเหลานี้พบวาชวย ทําใหนักเรียนทําการบานเสร็จเพิ่มมากขึ้นถึง 42% และชวยทําใหนักเรียน มีสวนรวมในหองเรียนเพิ่มขึ้นเกือบ 50% เปนเวลานานเกือบทศวรรษมาแลวที่บริษัทตางๆ ไดพยายามนําเอา เทคโนโลยีเขาไปใช ในโรงเรียนเพื1อกระตุนใหนักเรียนสามารถเรียนรูและ พัฒนาไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แตทวาวิธีการนี้ ไมไดตอบโจทยและ ไมไดชวยใหเกิดผลกระทบในเชิงบวกมากนัก ในขณะที่มีสิ่งหนึ่งที่ไมมีใคร สนใจไดเกิดขึ้นอยางฉับพลันในหมูนักเรียนหลายลานคน คือการที่นักเรียน เดินเขาหองเรียนพรอมอุปกรณเทคโนโลยีชิ้นหนึ่งในกระเปาของพวกเขา สิง่ นัน้ คือ โทรศัพทมอื ถือทีม่ าพรอมกับการสื1อสารยุคใหมทสี่ ามารถสงขอความ
96
ติดตอกันไดจนกลายเปนกระแสที่ไดรบั ความนิยมเปนอยางมาก โดยเฉพาะ ในกลุมวัยรุน รีมายด* พบโอกาสดีๆ ทางการตลาด นั่นก็คือการทําใหการสง ขอความมีความปลอดภัยและเปนระบบการสื1อสารทีเ่ หมาะสมสําหรับครูใหญ คุณครู นักเรียน และผูปกครอง การโฟกัสเปนสิ่งสําคัญในการเลือกเปาหมายที่ดีและมีประโยชน สูงสุด ระบบ OKRs จึงเปรียบเสมือนกับการฝดแกลบออกจากเมล็ดขาว สาลี เบรตต คอปฟ ไดคนพบความสําคัญและความจําเปนของการโฟกัส ระหวางที่เขากําลังสรางรีมายด เขาทําใหคุณครู นักเรียน และผูปกครอง สามารถสงขอความถึงกันไดภายใตระบบการสื1อสารที่ปลอดภัยและนHาเชื1อ ถือ เขาใช OKRs ในการกําหนดวัตถุประสงคที่สําคัญที่สุดของบริษัท โดยที่ บริษทั ของเขากําลังใหบริการคนนับลานคน ซึง่ กลุม คนเหลานีถ้ อื เปนกลุม คน ที่มีความสําคัญตออนาคตของประเทศนี้ ตอนที่เบรตตกับผมพบกันเปนครั้งแรก ผมรูสึกทึ่งกับความฝนและ ความมุงมั่นจริงจังของพวกเขาที่จะใหบริการแกกลุมลูกคาของเขา บริษัท สตารต-อัพของเขาโฟกัสที่คุณครูเปนหลัก ผมยังไมลืมตอนที่เดินเขาไปใน หองนํ้าในสํานักงานเล็กๆ ของเขา ผมเห็นรายการวัตถุประสงคของบริษัท ติดอยูบนกระจกเหนือโถสวม นั่นคือสัญญาณที่แสดงใหเห็นถึงความมุงมั่น และจริงจังกับเปาหมายในเรื1องนี้ ไดมากเลยทีเดียว ผมพบวาแบรตตมที กั ษะสูงมากในการจัดลําดับความสําคัญและขาย ไอเดียของเขาใหผูอื1นเห็นดวยและยอมรับ ในป 2012 เขาและพี่ชายที่ชื1อ เดวิด ไดรบั การยกยองวาเปน “30 Under 30 Education” (เปนการยกยอง คนรุนใหมที่อายุตํ่ากวา 30 ป และเปนผูทรงอิทธิพลของอุตสาหกรรมตางๆ ที่นิตยสาร Forbs จัดขึ้นทุกป ตั้งแตป 2011 เปนตนมา) ดวยการเติบโต อยางรวดเร็วของบริษัท การโฟกัสจึงกลายเปนสิ่งที่บริษัทตองเนนยํ้าและ *
รีมายดแอพพลิเคชัน่ (Remind Application) เปนแอปพลิเคชัน่ กลองขอความออนไลน ทีผ่ สู อนสามารถ สงขอความเพื1อติดตอผูเรียนที่เรียนในวิชาของตนเองได (โดยสามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ ทายเลม) – ผูเรียบเรียง
97
ใหความสําคัญเปนอยางมาก เขาจึงใช OKRs เปนกระบวนการหลักในการ ดําเนินการในเรื1องนี้
แบรตต คอปฟ : ผมเติบโตทีส่ โกกี อิลลินอยส ในสมัยเรียนผมตองพยายาม อยางมากทีจ่ ะทําใหตวั เองมีโฟกัส (มีสมาธิ) กับเรื1องการเรียน เพราะปกติผม เปนคนที่ไมชอบอยูนิ่งๆ การนั่งนิ่งๆ ที่โตะเรียนเปนเรื1องทรมานมากสําหรับ ผม การเรียนวิชาคณิตศาสตร 40 นาทีเปนชวงเวลาที่ยาวนานมาก ผมเปน เด็กทีช่ อบแกลงเพื1อนทีน่ งั่ ขางๆ หรือไมกข็ วางปากระดาษใสเพื1อน พูดงายๆ คือผมไมตั้งใจเรียนเลย ตอนเรียนอยูชั้นเกรด 5 ผมไปหาหมอใหตรวจวินิจฉัย พบวาผมเปน โรคสมาธิสั้นและมีความบกพรองทางการอาน การเรียบเรียงตัวอักษรและ คําเปนเรื1องยากสําหรับผม ยิ่งตัวเลขยิ่งยากเขาไปใหญ ทั้งคุณพอและคุณแมของผมเปนเจาของกิจการ ผมเห็นทานตื1นขึ้น มาทํางานตั้งแตตี 5 ผมก็เปนคนทํางานหนักเชนกัน แตผลการเรียนของ ผมกลับจมดิ่งลง ความมั่นใจในตนเองก็เชนกัน มันยิ่งเลวรายลง ในชวง มัธยมปลายที่นอรทไซด ชิคาโก นักเรียนคนอื1นๆ เรียกผมวาไอ โง และผม ก็เชื1อตามพวกเขาดวย ในชวงปกอนปสุดทายของระดับมัธยม คุณครูเดนิส ไวตฟลด เริ่ม มาสอนผมแบบตัวตอตัว และนั่นก็เปลี่ยนชีวิตผม ในแตละวันคุณครูจะ เริ่มจากคําถามวา “วันนี้เธอตองทําอะไรบาง” ผมดูรายการที่จดไวและตอบ วาการบานวิชาประวัตศิ าสตร เรียงความวิชาภาษาอังกฤษ และการสอบเลข ที่กําลังจะมาถึง แลวคุณครูก็จะพูดประโยคที่ฉลาดมากวา “โอเค เลือกมา 1 อยางแลวคุยเรื1องนั้นกัน” เราโฟกัสทีละ 1 เรื1องและผมก็สามารถทํามัน เสร็จ คุณครูใหกาํ ลังใจวา “พยายามตอไป เธอทําได ครูมเี วลาทัง้ วัน” ความ หวาดหวัน่ ใจของผมก็คอ ยๆ บรรเทาลง โรงเรียนไมเคยเปนเรื1องงายสําหรับ ผม แตตอนนี้ผมเริ่มเชื1อแลววาผมเอาอยู
98
คุณแมผมไดคุยกับคุณครูไวตฟลดทุกสัปดาห และมาโรงเรียนอยาง นอยเดือนละ 1 ครั้ง พวกเขารวมมือรวมใจกันเปนทีม เขาไมปลอยใหผม สอบตก แมผมไมคอยเขาใจความสําคัญของความรวมมือของทีมนี้มากเทา ไหร แตก็ถือวาเปนจุดเริ่มตนของการสรางนิสัยในเรื1องนี้ใหกับผม ถึงแมวาคะแนนผมดีขึ้นแลว การสอบ ACT (ซึ่งเปนการสอบเพื1อ วัดความสามารถของนักเรียนมัธยมในสหรัฐอเมริกา) ซึ่งมีขอสอบ 600 ขอ และตองทําใหเสร็จใน 4 ชั่วโมงโดยไมขยับไปไหน ก็เปนภาพหลอนที่นHา กลัวสําหรับคนเปนสมาธิสนั้ อยางผม อยางไรก็ตาม ผมก็สามารถทําได และ สามารถสอบเขามหาวิทยาลัยมิชแิ กนสเตตได นีถ่ อื เปนชัยชนะครัง้ แรกของผม เวลาที่คนพยายามจะตีโจทย ใหญของการศึกษาใหแตก พวกเขามัก จะเริ่มตนที่ตัวหลักสูตรหรือสิ่งที่ชี้วัดไดเชนคะแนนสอบ สิ่งที่ถูกหลงลืมไป คือสัมพันธภาพของมนุษย และทั้งหมดนี้คือสิ่งที่รีมายดทํา
ทวิตเตอรสําหรับการศึกษา คงไมตางจากธุรกิจที่เพิ่งเกิดใหมทั้งหลาย รีมายดเริ่มตนจากปญหา ของคนคนหนึ่ง ในฐานะนักศึกษาปหนึ่ง ผมรูสึกสิ้นหวังกับเดดไลนของการ เรียนและตารางทั้งหลาย ซึ่งอาจารยของผมมักจะเปลี่ยนไปตามอําเภอใจ ทําใหไมมีระบบสนับสนุนการเรียนของนักศึกษา ผมสอบตก 3 วิชาเอกจน ตองเลือกวิชาที่งายๆ คือ เศรษฐศาสตรเกษตร แตก็ยังตองเรียน 5 วิชา ตอเทอม ซึ่งแตละวิชาประกอบดวยรายงานจํานวน 35 ชิ้น แลวยังมีสอบ ยอยและสอบใหญอีก ความสําเร็จในการเรียนมหาวิทยาลัยขึ้นอยูกับการ บริหารจัดการเวลาที่มีประสิทธิภาพดวย เชน เราควรตอบคําถามไดวา ควร เริ่มเขียนเรียงความวิชารัฐศาสตรจํานวน 10 หนาเมื1อไหร ควรเริ่มเตรียม ตัวเตรียมสอบปลายภาควิชาเคมีเมื1อไหร ทั้งหมดคือการกําหนดเปาหมาย อยางตอเนื1อง แตผมก็ ไมสามารถจัดการมันไดสักที
99
ตอนผมเรียนอยูป 3 ผมเกิดไอเดียบางอยางหลังจากทีพ่ ยายามอยาง หนักมากในการเขียนเรียงความแตไดคะแนนแคปานกลาง ยิ่งไปกวานั้น ผมยังตองไปควานหาเกรดหวยๆ ในระบบเว็บบนเครื1องคอมพิวเตอรของ ผม ในเมื1อผมและเพื1อนๆ สงขอความหากันในแบล็คเบอรรี่แบบเรียลไทม แลวทําไมขอมูลของโรงเรียนถึงไมอยูบนปลายนิ้วมือของนักเรียนละ ทําไม คุณครูถึงไมสามารถเชื1อมตอกับนักเรียนดวยสมารตโฟนไดทุกที่ทุกเวลาละ ผมรูสึกวาผมตองสรางอะไรบางอยางเพื1อชวยนักเรียนที่เปนเหมือนผม ผม โทรศัพทหาเดวิดพีช่ ายของผม เขาทํางานดูแลระบบความปลอดภัยบนเว็บไซต ใหกับบริษัทประกันรายใหญในชิคาโก ผมถามพี่ผมวา “พี่มีเวลา 24 ชั่วโมง ที่จะตัดสินใจวาจะเริ่มตนบริษัทกับผมหรือไม” แคเพียง 5 นาทีหลังจากนั้น พี่ชายผมโทร. กลับมาและบอกวา “ตกลง พี่เอาดวย” เปนเวลา 2 ปทเี่ ดวิดและผมเงอะงะงุม งามอยูในความมืด พวกเราไมมี ความรูเ กีย่ วกับเทคโนโลยีเลย และยิง่ ไมรเู รื1องการพัฒนาผลิตภัณฑหรือระบบ ปฏิบตั กิ ารใดๆ (ประสบการณจริงของผมคือ เปนแคเด็กฝกงานทีค่ ราฟตฟดู และหนาทีผ่ มคือดูแลสต็อกคุกกี)้ นักเรียนทัว่ ๆ ไปไดเริม่ แบงปนตารางเรียน ของพวกเขา และผมไดนาํ ขอมูลเหลานี้ใสเขาไปในระบบมาโครของเอ็กเซล ที่เดวิดทําขึ้น เพื1อจะแจงเตือนไปยังโทรศัพทของพวกเขา “แบรตต คอปฟ คุณมีสอบวิชาประวัติศาสตร 101 พรุงนี้ 8 โมงเชา อยาลืมทบทวนบทเรียน มาดวย” ระบบมันโบราณมากและแนHนอนวามันขยายไมได แตวาในกรณีที่ มีผู ใชระดับไมกี่รอยรายรวมทั้งผมดวย มันเวิรก และสุดทายผมก็เรียนจบ จากมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต ในชวงตนของป 2011 ผมยายไปชิคาโกเพื1อทํางานกับแอพพลิเคชัน่ ของเราแบบเต็มเวลา ดวยเงิน 30,000 เหรียญจากเพื1อนๆ และครอบครัว เดวิดและผมทําทุกอยางทีผ่ ปู ระกอบการเขาทํากัน เรากินพาสตาทุกคืน พวก เราลมเหลวเพราะผมยโส เราใชเวลาสวนใหญในการประชุมกับวาทีน่ กั ลงทุน และทําแผนผังเว็บไซตอยางประณีต เราไมมีเวลาเรียนรูปญหาของคุณครู เลย เรายังไมได โฟกัสในสิ่งที่สําคัญ
100
เมื1อเงินเหลือแคไมกี่รอยเหรียญ บริษัทของเรารอดอยางหวุดหวิด ดวยการเขาสู Imagine K12 สตารต-อัพแหงซิลิคอนวัลเลยสําหรับตลาด การศึกษา เรากําหนดพันธกิจของเราวา “รีมายด 101 เสนทางปลอดภัยที่ คุณครูจะสงขอความถึงนักเรียนและผูปกครอง เรากําลังสรางแพลตฟอรม การสื1อสารทีท่ รงพลังในแวดวงการศึกษาโดยใช SMS เหมือน ‘เบ็ด’ ลองคิด วามันคือทวิตเตอรสาํ หรับการศึกษา มีเด็กนับลานทีม่ ปี ระเด็นเรื1องการศึกษา เหมือนที่ผมมี และมีคุณครูจํานวนนับไมถวนที่พยายามดิ้นรนจะชวยเหลือ พวกเขา” ผมกลาและจริงใจมากพอทีจ่ ะคิดวาเราสามารถทําอะไรสักอยางได เรามีเวลาเพียง 90 วันสําหรับโอกาสที่จะไดไปสาธิตการใชระบบ เดวิดลาออกจากงานของเขา และพวกเรายายไปซิลิคอนวัลเลย และเราได เรียนรูคําขวัญ 3 คําสําหรับผูประกอบการคือ x แกไข x สรางผลิตภัณฑที่เรียบงาย x พูดคุยกับผู ใชของคุณ ในขณะที่เดวิดขังตัวเองไว ในหองเพื1อเรียนรูวิธีเขียนโคด ผมโฟกัส ที่เปาหมาย 10 สัปดาห เปาหมายเดียวคือ สัมภาษณครู 200 คนทั่ว สหรัฐอเมริกาและแคนาดา (ผมคิดวานั่นคือ OKRs แรกของผม) หลังจาก ที่ไดติดตอคุณครู 500 คนผานทวิตเตอร ผมลงเอยดวยการคุยกับคุณครูที ละคนจนครบ 250 คน ซึง่ มากกวาวัตถุประสงคของผม เมื1อคุณไดฟง นักการ ศึกษาในภาคสนามมากพอ คุณจะเขาใจทันทีวาการคุยนอกรอบกับคนเหลา นี้จะทําใหเขาใจปญหาของเขามากขึ้น เมื1อเสียงระฆังดังบอกเวลาโรงเรียน เลิก สิง่ ทีค่ ณ ุ ครูเหลานีท้ าํ คือ การติดแผนกระดาษบนกระเปาของนักเรียนวา “กําหนดสงการบานวันพรุง นี”้ ผมจึงคิดตอไปวาเราทําอะไรใหดกี วานี้ ไดไหม
101
การจัดการเรื1องโทรศัพทและบัตรอนุญาตตางๆ เปนเรื1องที่ตองใช แรงงานมากและไมสามารถเชื1อถือได ในขณะเดียวกันการสงขอความระหวาง คุณครูอายุ 30 ปและเด็กอายุ 12 ขวบ เปนภาระอยางมาก คุณครูตองการ ระบบที่ปลอดภัย โดยปราศจากขอมูลสวนบุคคลติดไปดวย ตองเปนบางสิ่ง บางอยางที่เขาถึงไดงาย แตก็ตองมีความเปนสวนตัวดวย สิ่งนี้ตองชวยให เขาทํางานงายขึ้นและนอยลง ไมใชมีภาระเพิ่มขึ้น ภายใน 15 วันเรามีเวอรชั่นเบตาคราวๆ ของรีมายดแลว ในหนา กระดาษทีพ่ มิ พออกจากปรินเตอร มีสญ ั ลักษณทวี่ าดดวยมือสําหรับโทรศัพท มือถือและอีเมล ผมเขียนหวัดๆ ไปวา “นักเรียนของทานสามารถไดรับ ขอความของทาน...” ขางลางมี 3 ทางเลือกคือ “คําเชิญ” “พิมพ” “แชร” ตอนที่คุยกับคุณครูผานทางสไกป ผมถือกระดาษนี้บนหนาจอแลวพูดวา “คุณครูสามารถพิมพขอความอะไรก็ ไดที่ตองการสงถึงนักเรียนของคุณครู กดปุม พวกเขาจะไมเห็นเบอร โทร. ของคุณครูและโปรไฟลสื1อออนไลนของ คุณครู” ผมทําแบบนีน้ บั ครัง้ ไมถว น และคุณครูกต็ ื1นเตนจนแทบตกเกาอีท้ กุ ครั้ง พรอมพูดวา “โอ พระเจา นี่จะชวยแกปญหาอันใหญหลวงของฉันได” นั่นคือตอนที่เดวิดและผมรูวาพวกเรามาถูกทางแลว
ขยายจํานวนบนงบประมาณที่จํากัด ภายใน 70 วัน ซอฟตแวรของเราก็เปนรูปเปนราง คุณครูสามารถลง ทะเบียนในเว็บ สรางหองเรียนเสมือนจริง พรอมใหเบอรติดตอแกนักเรียน และผูปกครองเพื1อใหสงขอความ เราขยายอยางรวดเร็ว มันเปนสัญญาณ ที่ดีมาก มีขอความจํานวน 130,000 ขอความ ภายใน 3 สัปดาหหลังจากที่ เปดตัว เรามีสิ่งทีบ่ ริษัทเปดใหมทงั้ หลายตองการ นั่นคือรูปกราฟการเติบโต ที่เหมือนไมฮอกกี้ที่ชี้ขึ้นบอกความเติบโตอยางรวดเร็ว ในวันที่เราทําการ
102
สาธิตระบบ (Demo) ผมเดินเขาไปในหองใหญที่เต็มไปดวยเสียงเซ็งแซ พรอมกับสตารต-อัพอีก 11 รายและนักลงทุนอีกนับรอย ผมมีเวลา 2 นาที สําหรับการนําเสนอและ 2 ชั่วโมงที่วุนวายผสมปนเปไป ผมแจกนามบัตร ไปไมนอยกวา 40 คน การเติบโตของธุรกิจนั้นจําเปนตองใชเงินทุน ตอนชวงตนของป 2012 พี่ชายและผมเปนหนี้อยูราว 10,000 เหรียญ แต มิเรียม รีเวรา และ คลินต คอรเวอร นักลงทุนของอูลทู าํ ใหเราไดเงินชวยชีวติ อีก 30,000 เหรียญ เงินเพิ่มเติมอีกสวนหนึ่งมาจาก มานีช อโรรา ผูจัดการผลิตภัณฑของกูเกิล ที่ตอมาเปนผูกอตั้งไมตี้เทกซและกลายเปนเมนเทอรของผม ทําใหรีมายด ยังคงเติบโตไดอยางตอเนื1องและรวดเร็วจากเงินทุนตั้งตนเพียงนอยนิด บางทีหรืออาจจะเกือบทุกครัง้ ทีผ่ มรูส กึ เหมือนเปนพอมดฝกหัด ทุกสิง่ อยาง เคลื1อนที่อยางรวดเร็วและอยูนอกเหนือการควบคุม ในชวงหนึ่งที่เราเพิ่ม ผู ใชเขามามากถึง 80,000 รายตอวัน แตในขณะที่เรามีกันเพียง 5 คน และ มีวิศวกรเพียง 2 คน เรายังไมไดจายซักเหรียญในการทําการตลาดเลย ผม พูดคุยกับคุณครูเพื1อขอฟดแบค และพวกเขาก็สง ตอไปยังคุณครูอกี 50 ทาน เนื1องจากวาการบริการของเราฟรี เราก็เลยไมตอ งขออนุมตั จิ ากเขตการศึกษา เปาหมายของเราเนนเชิงคุณภาพอยางชัดเจน จนกระทั่งในฤดู ใบไมผลิของป 2013 ตอนที่เรามีผู ใชถึง 6 ลานคน และสามารถระดมเงิน ทุนระดับซีรี่ส A ระดับ (Series A คือ การไดรับเงินทุนในระดับที่เกิดการ ปรับปรุงผลิตภัณฑเพื1อรับกับรูปแบบของธุรกิจทีเ่ หมาะสม (กับตลาดจริงๆ)) ไดจาก ชามัท พาลิฮาพิทิยา และหุนสวนโซเชียล + แคปตอล ตอนนั้น มานีชไดกระตุนเตือนใหเราตัดสินใจเพิ่มขนาดจํานวนขอมูล และชามัท ก็ทําใหเรารูวาจะบอกเลาเรื1องราวทั้งหมดลงในกระดาษหนึ่งหนาไดอยางไร และเขายังไดสอนเราแยกแยะใหออกวาอะไร ไมสําคัญ เชน จํานวนผูลง ทะเบียนใชงาน ไมมีใครสนใจหรอกวามีคุณครูที่ลงทะเบียนในระบบรีมายด ทั้งหมดกี่คน ถาเขาไมไดกลับมาใชงานซํ้า
103
ตอนที่ จอหน ดัวร เห็นเปาหมายหลักของเราติดอยูบ นผนังในหองนํา้ ทําใหเปาหมายของเราเปนรูปธรรมจับตองไดมากยิ่งขึ้น เรากําหนดตัวชี้วัด เปาหมายไว 3 ขอคือ x จํานวนคุณครูที่เปนผู ใชงานประจํารายสัปดาห (Weekly Active Teacher : WAT) x จํานวนคุณครูที่เปนผู ใชงานประจํารายเดือน (Monthly Active Teacher : MAT) x จํานวนคุณครูที่คงอยู (Teacher Retention) จากนัน้ ผมก็เพิม่ ความคิดริเริม่ ใหมๆ เขามาในแตละไตรมาส ตัวอยาง เชน ยายฐานขอมูล สรางแอพพลิเคชัน่ จางพนักงานเพิม่ อีก 4 คน ผมอยาก ใหทุกคนในบริษัทเห็นวาเรากําลังทําอะไรอยู การทํางานในหองทํางานขนาดเล็กราวหนึ่งหองนอน ยังขาดแคลน วิศวกรอยางตอเนื1อง เราแทบจะยังไมไดเอาแอพพลิเคชั่นสําหรับโทรศัพท มือถือขึน้ มาใชงานเลย แตจอหนก็ยงั บอกวาเรายังคงพุง เปาไปทีส่ งิ่ ทีส่ าํ คัญ อยู วัตถุประสงคของเราชัดเจนและใชได เรามุงมั่นและใหความสนใจเกี่ยว กับคุณครูมาตั้งแตเริ่มตน ในเดือนกุมภาพันธ 2014 กอนที่เราจะปดการระดมทุนในซีรี่ส B (นําโดย ไคลเนอร เพอรคินส) จอหนได โยนเรื1อง OKRs เขามา เขาบอก พวกเราวาบางบริษทั ได ใชแลว เชน อินเทล กูเกิล ลิงกอนิ รวมถึงทวิตเตอร นีค่ อื วิธกี ารทีท่ าํ ใหเรามีโฟกัส เพื1อทีจ่ ะนําทางและติดตามการทํางาน รวมทัง้ สนับสนุนพวกเราในทุกกาว ตอนนั้นผมก็คิดวาทําไมเราไมลองดูสักตั้งหนึ่ง มันก็ ไมมีอะไรเสียหายนี่
104
แบรตต คอปฟ ผูรวมกอตั้งรีมายด, เมโลเนย คารกิล, ดอวน ซานเชซ
ครูใหญรวมจากโรงเรียนคลินตันเดลคอมมูนิตี้ และ เดวิด คอปฟ ผูรวมกอตั้งรีมายด, ป 2012
เปาหมายเพื1อการเติบโต ในเดือนสิงหาคมปนั้นเปนฤดูกาลที่เรายุงมาก ในชวงเปดเทอม แอพพลิเคชั่นรีมายดแทบจะระเบิด มีนักเรียนและผูปกครองดาวน โหลด ราววันละ 300,000 คน เราอยูในอันดับ 3 ของแอปเปลแอพสโตร เมื1อถึง ชวงปลายฤดูใบไมรวง เราก็ผานดานขอความจํานวน 1 พันลานขอความ ระบบการทํางานของพวกเราจําเปนตองพัฒนาอยางกาวกระโดดอยางเรง ดวนในทุกแผนก ไมมเี ปาหมายใดของเราทีส่ วยหรู แตทกุ เปาหมายนัน้ ลวนมีความ สําคัญและจําเปน
105
เราเริ่มใช OKRs ตอนที่บริษัทเรามีพนักงาน 14 คน ภายใน 2 ป เรามีคนเพิม่ ถึง 60 คน เราไมสามารถมาประชุมแบบลอมโตะเพื1อทีจ่ ะกําหนด ลําดับความสําคัญในไตรมาสตอไปไดอกี แลว OKRs ชวยเราอยางมากในการ ทําใหคนมีโฟกัสในสิ่งที่สนับสนุนใหบริษัทเติบโตขึ้นไปในอีกระดับ ทั้งนี้เพื1อ ใหบรรลุวัตถุประสงค ในเรื1องการมีสวนรวมของคุณครู ดวยผลลัพธสําคัญ ที่มีเวลาเปนตัวกําหนด เราตองเลื1อนหลายสิ่งหลายอยางออกไป ในความ เห็นของผม คุณสามารถทําสิง่ ใหญโตมากเพียงเรื1องเดียวในแตละชวงเวลา และคุณก็ควรจะรูดวยวาสิ่งนั้นคืออะไร วัตถุประสงค
สนับสนุนการจางงานของบริษัท ผลลัพธสําคัญ
1. จางผูอํานวยการดานการเงินและการปฏิบัติการ (พูดคุยกับผูสมัครอยางนอย 3 คน) 2. สรรหาผูจัดการการตลาดผลิตภัณฑ 1 คน (ไตรมาสนี้พบกับผูสมัคร 5 คน) 3. สรรหาผูจัดการผลิตภัณฑ 1 คน (ไตรมาสนี้พบกับผูสมัคร 5 คน)
ตัวอยางเชน ถึงวันนีบ้ ริการที่ไดรบั การรองขอมากทีส่ ดุ คือการสงขอมูล ซํา้ เชน คุณครูตอ งการเตือนนักเรียนเกรด 5 ใหนาํ หนังสือนิยายทีก่ าํ ลังอาน อยูม าคืนดวย และเตือนซํา้ ทุกเชาวันจันทร โดยไมตอ งสงขอมูลซํา้ ๆ อีก นีค่ อื บริการที่สรางความพึงพอใจตลอดกาลของเรา ในทางกลับกัน เราตองมา วิเคราะหวาสิ่งนี้มันคุมคากับเวลาที่ตองใช ในการจัดการเพื1อใหความสําคัญ กับเรื1องนี้เปนลําดับตนๆ หรือไม สิ่งนี้จะชวยเพิ่มระดับความผูกพันกับผู ใช หรือไม เมื1อคําตอบของเราคือ ไม เรื1องนี้จึงตองถูกพักไวกอน เปนตัวอยาง เรื1องที่ยากสําหรับองคกรที่ใหคุณครูเปนศูนยกลาง ถาปราศจากวินัยในการ กําหนดเปาหมายและการโฟกัส เราอาจจะเอาไมอยูก็ ได
106
OKRs ชวยใหเราเดินตอตามแผนได โดยไมตองพึ่งพาการบริหาร แบบระดับบนลงสูระดับลาง หลังจากที่ลงคะแนนโหวตวัตถุประสงคหลัก ของไตรมาสแลว ทีมผูนําก็จะไปพบพนักงานของเราทั้งหมดและกลาววา “นี่คือสิ่งที่เราคิด และเหตุผลวาทําไมเราถึงเลือก” แลวพนักงานของเราก็ จะพูดวา “โอเค แลวพวกเราจะไปถึงทีน่ นั่ ไดอยางไร” เนื1องจากทัง้ หมดนีถ้ กู ประกาศออกมาเปนลายลักษณอักษร ทุกคนจะรูวาใครทําอะไรบาง จึงไมมี ความสับสนใดๆ หรือจะไมมีการวิพากษวิจารณซึ่งกันและกันสําหรับความ ผิดพลาดที่เกิดขึ้น ระบบ OKRs ทําใหเราสามารถเอานโยบายมาใชงานได จริงและเปนรูปธรรมที่ชัดเจน ระบบ OKRs ยังชวยทําใหผมโฟกัสกับเปาหมายสวนตัวอีกดวย ผม พยายามจํากัดวัตถุประสงคหลักของตนเองใหไมเกิน 3 ขอ สูงสุดตองไมเกิน 4 ขอ ผมพิมพออกมาและวางไว ใกลกบั สมุดบันทึกของผมขางๆ คอมพิวเตอร ผมเอาติดตัวไปดวยทุกที่ ทุกเชาผมจะบอกกับตนเองวา “นี่คือตะกรา 3 ใบ ของผม และผมจะทําอะไรบางในวันนี้เพื1อพาบริษัทกาวไปขางหนา” นี่เปน คําถามสําคัญสําหรับผูนําทุกคน ไมวาจะมีหรือไมมีประเด็นสําคัญก็ตาม ผมเปดกวางสําหรับการเปดเผยความคืบหนาหรือยอมรับจุดบกพรอง ของผม ผมบอกกับคนของผมวา “ผมกําลังทํางานอยูกับ 3 เรื1องนี้ และผม สอบตกอยางแรงกับเรื1องนี้” ในระดับของบริษัทแลว พนักงานจําเปนตอง เห็นสิง่ ที่ CEO ใหความสําคัญ พวกเขารูว า จะทํางานใหสอดคลองไดอยางไร ทัง้ นีเ้ พื1อทีจ่ ะใหเกิดผลลัพธเชิงบวกสูงสุด และพวกเขาก็จาํ เปนตองเห็นความ ผิดพลาดเปนเรื1องธรรมดา ก็แคแกไขและเดินหนาตอไป คุณตองไมกลัวที่ จะทํามันพัง เพราะถารูสึกกลัวความผิดพลาด การสรางนวัตกรรมก็ ไมเกิด ในฐานะที่เปนสตารต-อัพที่เติบโตเร็ว ผูนําที่มีประสิทธิภาพจะตอง คอยไลตวั เองออกจากงานตางๆ ทีเ่ ขาไดเริม่ ทํามาตัง้ แตตน ผมเองก็เชนกัน ชวงแรกๆ ก็เหมือนกับผูก อ ตัง้ หลายๆ คน ผมตองทําบัญชีเอง ดูดา นการจาย เงินเดือนเอง ซึ่งเปนงานที่เปลืองเวลามาก ดังนั้น OKRs ขอหนึ่งชวงแรก
107
ของผมคือ ผมตองมอบงานดานการเงินใหคนอื1นทําแทน และผมกลับมาโฟกัส ที่วัตถุประสงคหลักของเราคือการกําหนดกลยุทธและการพัฒนาผลิตภัณฑ ในขณะเดียวกันผมก็ตองปรับตัวใหม โดยผมตองทํางานผานลําดับชั้นของ ผูบริหารในระดับตางๆ ระบบ OKRs ของผมชวยใหการเปลี่ยนผานในเรื1อง เหลานี้ ไปไดอยางราบรื1นและยั่งยืน ประเด็นหลักๆ เลยคือ OKRs ชวยให ผมไมยอนกลับไปใชวิธีเดิมและไมเขาไปลวงลูกทีมงานของผมอีก
มรดกของ OKRs OKRs เปนเรื1องทีเ่ รียบงาย แตก็ไมใชงา ยๆ แบบรวดเดียวจบ ในชวงแรก เราอาจจะหลุดไปไกลในเรื1องวัตถุประสงคระดับบริษทั สวนใหญจะเปนไปใน ทางที่ทะเยอทะยานมากเกินไป เราอาจจะกําหนดมากถึง 7-8 วัตถุประสงค ในขณะที่เรามีกําลังความสามารถอยางมากเพียง 2 ขอ ตอนทีจ่ อหนเขามาในชีวติ พวกเรา ผมยังใหมมากในดานการวางแผน กลยุทธ บางทีเราควรจะเริ่มใหงายๆ โดยใช OKRs แบบคอยเปนคอยไป และไมลงระบบทั้งหมดในคราวเดียวกัน แตไมวาความผิดพลาดของเราคือ อะไร ถายอนกลับไปไดผมก็อาจจะทําแบบเดิมอยูดี ระบบ OKRs ชวยให รีมายดกลายเปนบริษัทที่บริหารจัดการองคกรไดดี เปนบริษัทที่มีการลงมือ ทําและสรางผลลัพธ หลังจากที่เราไดนํามาใชแลว 3 ไตรมาส เราไดรับเงิน ลงทุนในซีรี่สซีอีก 40 ลานเหรียญ เงินกอนนี้จึงเปรียบเสมือนใบรับประกัน วาบริษัทของเรามีอนาคตตอไปไดอยางแนHนอน
ไมมีอะไรภายใตทองฟานี้ที่รีมายดทําไมได ตลอดเวลาที่เติบโตและ เปลี่ยนแปลง เราไมเคยละสายตาจากผู ใชหลักของเราเลย ซึ่งก็คือคุณครู ทั้งหลายที่ทํางานอยางหนัก แบรตต และ เดวิด คอปฟ มีความแนHวแนH อยางชัดเจนในวิสยั ทัศนของพวกเขา “ใหนกั เรียนทุกคนมีโอกาสทีจ่ ะสําเร็จ”
108
ดังทีแ่ บรตตไดกลาวไววา เรามีชวี ติ อยูในชวงเวลาทีค่ ณ ุ สามารถกดปุม เรียก รถแท็กซี่ใหมาถึงที่ได ในเวลาเพียง 5 นาที แตสาํ หรับเด็กนักเรียนทีเ่ รียนรูได ชากลับตองใชเวลาหลายสัปดาหหรือหลายเดือนกวาทีพ่ อ แมจะรูว า เขาเปน อะไร รีมายดกําลังแกปญหาเหลานี้อยูโดยการโฟกัสในสิ่งที่สําคัญ
109
6
รักษาคํามั่นสัญญา : เรื1องราวของนูนา จีนี่ คิม ผูรวมกอตั้งและ CEO
นู
นาเปนเรื1องราวเกีย่ วกับแรงบันดาลใจของ จีนี่ คิม ทีต่ อ งการยกระดับ บริการทางการแพทยสาํ หรับคนอเมริกนั ใหดขี นึ้ โดยเธอมีแรงผลักดัน มาจากเหตุการณที่นาเศราและเลวรายที่เกิดขึ้นกับครอบครัวของ เธอ ซึ่งเราจะไดทราบเรื1องราวของเธอในมุมตางๆ เชน เธอไดนาํ นูนาฝาฟน อุปสรรคตางๆ มาไดอยางไรในรอบหลายปทผี่ า นมา เธอคัดเลือกวิศวกรและ นักวิทยาศาสตรขอ มูลอยางไรใหคนเหลานีก้ ลามาทํางานกับเปาหมายทีย่ าก และทาทายมากๆ ได และเปาหมายที่วานี้คือ การเริ่มตนจากศูนย ในการ สรางแพลตฟอรมขอมูลทางการแพทย ในการรักษาผูปวยในสหรัฐอเมริกา ที่เรียกวาโครงการ “Medicaid Data Platform” การโฟกัสและการมีพันธสัญญาถือเปนหัวใจหลักของ Superpower ขอแรก ในการนํา OKRs ไปใชนั้น ผูนําตองประกาศใหรูทั่วกันวาอะไร คือวัตถุประสงค และเอาจริงเอาจังกับสิ่งนี้อยางแนวแน นูนาคือบริษัท แพลตฟอรมขอมูลทางการแพทย และการวิเคราะหขอมูลที่ผูรวมกอตั้งได กาวพนการเริ่มตนที่ผิดพลาดดวย OKRs พวกเขาไดจัดลําดับความสําคัญ อยางชัดเจนใหทั้งบริษัทไดรับรู พวกเขารูดีวานอกจากจะตองทําให OKRs
110
สวนตัวบรรลุเปาหมายแลว พวกเขาจะตองชวยให OKRs ของทีมงานบรรลุ เปาหมายดวยเชนกัน นูนาเริ่มตนขึ้นในป 2014 และจากการที่นูนามีประสบการณที่ ได จากการทําสัญญาจํานวน 1 สัญญาเปนเวลา 4 ปกับโครงการเมดิเคดซึ่ง เปนโครงการขนาดใหญ ทําใหบริษัทไดยกระดับขอมูลที่จะทําใหระบบการ แพทยทาํ งานไดดขี นึ้ สําหรับคนนับลานคนทีต่ อ งการนําเทคโนโลยีมาประยุกต ใชเปนตัวชวยดานการบริการทางการแพทย นูนาไดนําเอาบทเรียนที่ไดนี้ ไปชวยบริษัทขนาดใหญในการพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพการดูแล ในแผนสุขภาพสวนบุคคล ภารกิจของนูนาทั้งหมดนี้ สําเร็จไดเพราะการ กําหนดเปาหมายทีย่ อดเยีย่ มจากการทีบ่ ริษทั ไดนาํ เอาระบบ OKRs เขามาใช ซึง่ จีนี่ไดรจู กั OKRs ครัง้ แรกจากผูจ ดั การผลิตภัณฑสมัยทีเ่ ธอทํางานอยูท กี่ เู กิล เรื1องนีส้ ะทอนใหเห็นถึงแงมมุ ของพันธสัญญาใน 2 แงมมุ คือ เมื1อทีม งานของนูนาเขาใจ OKRs เปนอยางดีแลว OKRs จะเปนตัวกําหนดพันธ สัญญาเพื1อใหทกุ คนยึดมัน่ กับเปาหมายสูงสุดขององคกร ทัง้ ผูน าํ และพนักงาน ตองเรียนรูเ รื1องการสรางพันธสัญญาในการขับเคลื1อน OKRs ไปพรอมๆ กัน
จีนี่ คิม : เรื1องของนูนาเกี่ยวกับฉันโดยตรงเลยทีเดียว ตอนที่คิมมง นองชายของฉันอายุ 2 ขวบ ไดรับการวินิจฉัยวาเปนออทิสติกชนิด รายแรง ไมกี่ปตอมาเขาเกิดอาการลมชักที่ดิสนียแลนด ตอนแรกเขาก็ปกติ ดี แตอีกวินาทีตอมาเขาก็ลมลงบนพื้นและเกือบจะไมสามารถหายใจเองได ในฐานะที่เราเปนผูอพยพชาวเกาหลีที่มีรายไดจํากัดและไมชํานาญภาษา อังกฤษ พอแมของฉันรูสึกสิ้นหวัง ถาไมมีกองทุนเซฟตี้เนต ครอบครัวของ เราคงตองลมละลายแนๆ ดังนั้น เรื1องการขึ้นทะเบียนนองชายเพื1อขอรับ การชวยเหลือทางการแพทยจึงตกเปนหนาที่ของฉัน ซึ่งขณะนั้นฉันมีอายุ เพียง 9 ขวบเทานั้น
111
ในป 2004 ฉันไดรวมงานกับกูเกิลซึ่งเปนงานแรกหลังจากจบการ ศึกษาจากมหาวิทยาลัย ฉันไมเคยไดยินคําวา OKRs มากอน แตเมื1อเวลา ผานไป OKRs คอยๆ กลายเปนเข็มทิศที่จําเปนและขาดไมไดเลยสําหรับ ฉันและทีมงานเพื1อที่จะเดินไปสูเปาการทํางานสําคัญใหสําเร็จ ผลิตภัณฑ แรกที่ฉันทํางานที่กูเกิลคือ Google Health การทํางานในจุดนี้ ไดสอนใหฉัน เห็นถึงความสําคัญของขอมูลเพื1อทีจ่ ะพัฒนาระบบการบริการทางการแพทย ในขณะเดียวกันฉันก็เรียนรูวามันยากมากที่จะเขาถึงขอมูลดังกลาว เพราะ แมแตขอมูลของตัวเราเองเราก็ยังเขาถึงไดยากเลย ดวยประสบการณจาก ตรงนี้เองที่ชวยใหฉันไดกอตั้งนูน?าขึ้นในป 2010 ในตอนแรกนูน?ายังไมได ใช OKRs เพราะเรายังไมมีเงินและไมมี ลูกคา ฉันทํางานเต็มเวลาและทํางานพิเศษอีก 5 อยาง (รวมกับ เดวิด เฉิน เพื1อนบัณฑิตทีเ่ ปนผูร ว มกอตัง้ ) เราทัง้ คูก ็ ไมไดรบั คาจางใดๆ เลย เราเริม่ ทํา โมเดลตนแบบและไดพูดคุยกับบริษัทขนาดใหญที่เปนนายจางเปนผูจายคา ประกันใหลกู จาง ในปแรกเรามีคาํ สัง่ ซือ้ เปนศูนยและมันก็ควรจะเปนเชนนัน้ เราคิดวาเรารูวาตลาดตองการอะไร แตเรายังไมเขาใจลูกคาของเราดีพอที่ จะสงเสริมผลิตภัณฑของเรา
จีนี่ คิม CEO ของนูน า และ คิมมง นองชายของเธอ
112
ในขณะที่เรายังคงไมมียอดสั่งซื้อติดตอกันในปที่สอง ฉันก็รูวาถึง เวลาแลวที่ตองศึกษาอะไรบางอยางวา อะไรคือสิ่งที่ผูอํานวยการดานผล ประโยชนสนใจละ และอะไรคือภาพของนวัตกรรมที่มีความหมายในตลาด บริการดานสุขภาพ ฉันตัดสินใจลุกขึน้ แตงตัวแลวไปเขารวมงานประชุมของ ฝายทรัพยากรมนุษยเพื1อหาคําตอบเหลานี้ ตลอดเวลามากกวา 2 ปที่เราถูกลูกคาปฏิเสธ เราเจอแตความผิด หวัง เรากินเพียงราเมนเปนอาหารคํ่ามากจนนับจํานวนมื้อไมได แตสุดทาย เราก็นาํ พานูนา? มาจนถึงการแจงเกิดในตลาดจนได เพราะในป 2012 สิง่ ทีฉ่ นั เรียนรูไดชว ยใหเราไดเซ็นสัญญากับลูกคาทีเ่ ปนบริษทั ระดับฟอรจนู 500 ได ในฐานะธุรกิจสตารต-อัพ อยากจะบอกวาความแน?นอนคือการเปลีย่ นแปลงที่ สามารถเกิดขึน้ ไดตลอดเวลา และนูนา? ก็กาํ ลังจะกาวผานการเปลีย่ นแปลงที่ ยิ่งใหญในครั้งนี้ ไป หลังจากที่ฉันไดทํางานรวมกับ Healthcare.gov มานาน ถึง 6 เดือน ฉันก็ยายกลับไปเบยแอเรียอีกครั้ง เราไดเงินลงทุนสนับสนุนมา 30 ลานเหรียญ ในที่สุดเราก็มีเงินจายทีมงาน และพรอมสําหรับการบริหาร งานในปตอๆ ไป ในเวลานั้นฉันไดรูวารัฐบาลกําลังเปดรับและตองการขอเสนอใน การสรางฐานขอมูลเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรสําหรับสมาชิกในระบบ เมดิเคดจํานวน 74.5 ลานคนที่อาศัยอยูใน 50 มลรัฐ 5 เขตการปกครอง และในเขตดิสทริคออฟโคลัมเบีย ความพยายามแบบนี้ของเราลมเหลวมา แลวหลายตอหลายครัง้ แตในครัง้ นี้ เราใชเวลา 72 ชัว่ โมงหลังจากที่ไดเติม พลังดวยอะดรีนาลีนและเรดบูลแลว เราก็สง ขอเสนอการประมูลใหกบั ศูนย บริการทางการแพทยและเมดิเคด (Centers for Medicare & Medicaid Services : SMC) ทันเวลาพอดี และหลังจากนั้นอีก 2 เดือน ผลปรากฏ วาเราชนะการประมูลนั้น
113
การขยายตัวของธุรกิจนูนา? มีภารกิจทีส่ าํ คัญมากอยู 3 เรื1อง เรื1องแรก คือ ตัวธุรกิจทีต่ อ งพัฒนาใหสอดคลองกับกฎระเบียบขอกําหนด ระบบความ ปลอดภัยของขอมูล และระบบความเปนสวนตัว เรื1องทีส่ องคือ แพลตฟอรม ของระบบขอมูลและระบบพืน้ ฐาน (Infrastructure) และเรื1องทีส่ ามคือ จํานวน พนักงานทีเ่ พิม่ จาก 15 คนเปน 75 คน เราตองสรางฐานขอมูลประวัตศิ าสตร นี้ ไปพรอมๆ กับทํางานใหกับผูจางงานเราและตองทําใหเสร็จภายใน 1 ป ดังนั้น เราจําเปนตองโฟกัส มุงมั่น และเอาจริงเอาจังมากกวาที่เคยเปนมา ในป 2015 เราพยายามนํา OKRs เขามาใช ในฐานะศิษยเกากูเกิล ฉันเชื1อในพลังวิเศษของ Superpower ของวัตถุประสงคและผลลัพธทสี่ าํ คัญ แตฉนั ก็ประเมินการนําไปใช ในบริษทั ตํา่ เกินไป ไมตอ งพูดถึงประสิทธิผลดวย ซํ้า คุณตองคอยๆ สรางความแข็งแรงของเปาหมายใหเพิ่มขึ้นทีละเล็กละ นอย โดยสวนตัวแลวฉันเขาใจเรื1องนี้ดี เพราะฉันมีประสบการณ ในการนํา เอา OKRs ไปใชกับตนเองในเรื1องการวิ่งมาราทอน ซึ่งการทําอะไรที่มาก เกินไปและเร็วเกินไปจะจบลงดวยความเจ็บปวดแน?นอน เรากําหนด OKRs รายไตรมาสและรายป เราใหพนักงานทุกคนที่ นูน?าไดรูจักตั้งแตวันแรกที่เขามาทํางาน ตอนนั้นเรายังเล็กมาก มีพนักงาน อยูประมาณ 20 คน คุณอาจจะคิดวาไมยากหรอก แตถาระบบไมดี คนบาง คนก็ ไมกําหนด OKRs และคนบางคนกําหนด OKRs ไวแตเก็บไว ในลิ้นชัก ไมไดเอาออกมาใชจริง ถารูวาจะเปนอยางนี้ ฉันน?าจะเริ่มตนจากทีมผูนํากอน 5 คน เพื1อ ใหการกําหนดเปาหมายนั้นออกดอกออกผล แตเมื1อบริษัทของเรานําไปใช แลวก็ใหเรียนรูจากประสบการณที่ไมไดผลนี้ ผูบริหารจําเปนตองเอาจริง เอาจังกับกระบวนการ มันอาจจะตองใชเวลา 1 หรือ 2 ไตรมาสทีจ่ ะเอาชนะ แรงตานจากผูจัดการ และใหพวกเขาปรับตัวใหเขาใจวา OKRs ไมใชปศาจ หรือเรื1องที่ไมดี แตมันเปนกิจกรรมธรรมดาที่มีประโยชนตอการทําใหบรรลุ เปาหมายสูงสุดขององคกร
114
ถาทีมผูบริหารทุกคนไมเอาดวยหรือไมจริงจังกับระบบนี้ ก็อยา คาดหวังวาพนักงานจะทําตาม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในองคกรที่ใช OKRs ตัง้ เปาหมายกันอยูในระดับเกือบจะเกินเอือ้ ม ยิง่ วัตถุประสงคมคี วามทาทาย สูง ก็ยงิ่ มีความเปนไปไดวา คนจะละเลย คนสวนใหญจะรอใหเจานายกําหนด เปาหมายใหแลวพวกเขาก็ทาํ ตามทีก่ าํ หนด องคกรก็เปรียบเสมือนเรือ ถาลูก เรือกระโดดหนีไปทามกลางพายุในทะเลกันหมด ก็อยาหวังวากะลาสีเรือจะ นําเรือไปถึงฝงได ชวงกลางป 2016 เราไดลองอีกครั้ง โดยกําหนดระดับ OKRs ใหม ถึงแมวา ฉันจะเห็นทีมผูบ ริหารของเราเขารวมดวยแลว แตฉนั ก็ยงั ไมคอ ยพึง พอใจเทาไหร ในฐานะผูนํา งานของฉันก็คือไลตามงานของแตละคน ฉันจะ สงอีเมลไปถึงพนักงานใหเขากําหนด OKRs สวนตัว ถาพวกเขาไมตอบ ฉัน ก็จะสงขอความไปถึงเขาดวยสแล็ค ซึง่ เปนแอพพลิเคชัน่ สงขอความภายใน องคกร และถาพวกเขายังไมไดยินฉันอีก ฉันจะสงขอความไปหาเขาอีก รอบ และถาเขายัง คง ไมฟงฉัน อีก ฉันจะเดินไปหาเขาแลวพูดวา “ชวยทํา OKRs ของคุณดวย!” ถาตองการใหทมี งานเกิดแรงบันดาลใจในการทําระบบนีอ้ ยางจริงจัง ผูนําตองลงมือทําดวยตนเองใหทีมงานเห็นดวย ผูนําอยากใหทีมงานมี พฤติกรรมแบบไหน ผูนําตองแสดงพฤติกรรมแบบนั้นใหทีมงานเห็นกอน หลังจากทีฉ่ นั ประกาศ OKRs สวนตัวของฉันในการประชุมใหญแลว ฉันรูส กึ ประหลาดใจเปนอยางมาก เพราะทําใหทกุ คนในบริษทั ตื1นตัวกับเรื1องนีข้ นึ้ มา เปนอยางมาก การประกาศในครัง้ นีแ้ สดงใหพนักงานเห็นวาตัวฉันเองก็ตอ ง รับผิดชอบกับระบบนี้เชนกัน พนักงานของเราสามารถประเมิน OKRs ของ ฉัน และสามารถบอกฉันวาเราจะทําเรื1องนี้ใหดขี นึ้ ไดอยางไร นีค่ อื สิง่ ทีท่ าํ ให เราแตกตางจากการนําเอา OKRs เขามาใชกอนหนานี้ ตัวอยางเชน เกรด ของฉันคือตัวเลขในวงเล็บ (สําหรับกูเกิลสเกลคือ 0.0 – 1.0) ฉันบอกเลย วาเรื1องการใหเกรดที่ชัดเจนแบบนี้ มันทําใหฉันตัดสินใจไดงายขึ้นมากเลย ฉันสามารถบอกไดวาเปาหมายของ OKRs ขอไหนควรจะรับหรือตีตกไป
115
วัตถุประสงค
สรางทีมระดับเวิรลดคลาสอยางตอเนื1อง
ผลลัพธที่สําคัญ
1. จางวิศวกร 10 คน (0.8) 2. จางหัวหนาทีมขาย (1.0) 3. 100% ของคนที่มาสมัครงาน รูสึกวาที่นี่เปนมืออาชีพ และจัดการไดดีถึงแมวาเขาจะไมไดงานที่นูน9า (0.5)
เพื1อวัดความเอาจริงเอาจังของเราในการพัฒนาอยางเปนมืออาชีพ เราจึงเพิม่ ผลทีล่ พั ธสาํ คัญเขามาอีก 2 เรื1องนอกเหนือจากการวาจางวิศวกร 10 คน วัตถุประสงค
สรางสภาพแวดลอมการทํางาน และมีผลงานที่ดี ไปพรอมกับการเพิ่ม จํานวนพนักงานถึง 150 คน
ผลลัพธที่สําคัญ
1. ชาวนูน9าทั้ง 100% ไดเขากระบวนการทบทวนผลงาน และฟดแบค (1.0) 2. ชาวนูน9าทั้ง 100% ใหคะแนน OKRs สวนตัวของ ไตรมาสที่ 3 ภายในสัปดาหแรกของไตรมาสที่ 4 (0.4)
ที่นูน?า พันธสัญญาของเราตอ OKRs เปนเรื1องสาธารณะและมอง เห็นได แตก็มีบางชวงเหมือนกันที่ระบบนี้มีประโยชนมากกวาถาทําแบบไม เปดเผยตอสาธารณะ เชน ในไตรมาสที่ 4 ของป 2016 ฉันตองการสรรหา รองประธานกรรมการบริหาร (Vice President) ที่จะเขามารับผิดชอบเรื1อง การเรงขยายการเติบโตของธุรกิจ ซึ่งตําแหน?งนี้เปนตําแหน?งที่สําคัญ และ ฉันก็ ไมแน?ใจวาถาเปดเผยออกไปคนในบริษัทจะคิดและรูสึกอยางไร ดังนั้น OKRs ขอนีจ้ งึ มีเฉพาะฉันกับเดวิดเทานัน้ ทีร่ แู ละรับผิดชอบรวมกัน ฉันตอง
116
พยายามทําทุกวิถีทางเพื1อจางงานในตําแหน?งนี้ใหได ฉันตองพูดคุยใหคน ทํางานในตําแหน?งที่สําคัญๆ เขาใจถึงความสําคัญและความจําเปนที่ตอง มีตําแหน?งงานนี้ขึ้นมา ทั้งนี้เพื1อใหไดคนที่มีศักยภาพจริงๆ เขามารวมงาน กับเรา และในที่สุดกระบวนการสรรหาคัดเลือกอยางเปนทางการก็เกิดขึ้น โดยปกติแลวธุรกิจสตารต-อัพมักจะตองตอสูก บั ความกํากวมไมชดั เจน ในชวงแรก เมื1อขอบเขตของนูนา? ไดขยายออกไป ลูกคาทีเ่ ปนบริษทั นายจาง ทีจ่ า ยเบีย้ ประกันตามระดับความเสีย่ งของพนักงาน ไปสูฐ านขอมูลทีม่ ขี นาด ใหญมหึมาของโครงการเมดิเคด ไปจนถึงผลิตภัณฑแผนการดูแลสุขภาพ ใหม เรายิ่งตองพึ่งพา OKRs มากขึ้นกวาเดิม ทีมของเราตองมีโฟกัสและ จัดลําดับความสําคัญทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ กวาเดิม กอนทีจ่ ะไปสรางพันธสัญญาให เขมขนมากกวาเดิม ระบบ OKRs ผลักดันใหเกิดการพูดคุยกันมากขึ้น ทํางานไดสอดคลองกันมากขึ้น แทนที่จะรอตอบสนองตอสิ่งภายนอกไป เรื1อยๆ เหมือนแตกอน เราหันกลับมาตอบสนองเปาหมายที่สําคัญในแตละ ไตรมาสแทน เรามีเสนตายของเปาหมายทีช่ ดั เจนและอยูในวิสยั ทีเ่ ปนไปได พวกเรา เอาจริงเอาจัง มากกับการทําในสิง่ ที่ใหเราได ใหคาํ มัน่ สัญญาเอาไว ซึ่งทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นไมไดเลยถาหากเราไมมีระบบ OKRs ถาถามวา OKRs สอนอะไรใหกับพวกเราบาง เดวิดตอบวา “คุณจะ ไมสามารถทําระบบใหมันถูกตองตั้งแตรอบแรกไดหรอก เผลอๆ อาจจะมี รอบสองรอบสามดวยซํ้าไป แตอยาเพิ่งทอแทและเสียกําลังใจ จงมุงมั่นตอ ไป แลวคุณจะสามารถปรับใหมันเหมาะกับคุณไดเอง” ผมเชื1อวาดวยพลัง ของความมุงมั่นเอาจริงเอาจัง และลงมือทําอยางตอเนื1องอยางไมลดละนี้ สุดทาย คุณจะไดผลลัพธที่คุมคาและหอมหวานจากระบบนี้อยางแน?นอน ถึงวันนี้ ดวยการสนับสนุนอยางประเมินคามิไดจาก CMS ซึง่ เปนหุน สวนทางธุรกิจของเรา นูน?าไดสรางแพลตฟอรมฐานขอมูลที่ปลอดภัยและ ยืดหยุนสําหรับเก็บขอมูลดานสุขภาพของชาวอเมริกันกวา 74 ลานคน แต เราก็มแี รงบันดาลใจทีจ่ ะทําใหมากกวานี้ เราตองการใหแพลตฟอรมของเรา
117
เขาไปถึงผูกําหนดนโยบายดานสุขภาพของประเทศ ซึ่งจะชวยลดภาระใน การบริหารตนทุนคาใชจายของภาครัฐในเรื1องนี้ ได เราตองการใหนูน?าเปน ตัวชวยในการวิเคราะหขอมูล การพยากรณ และการปองกันการเจ็บปวย ในอนาคต เปาหมายสูงสุดของเราคือการชวยขับเคลื1อนและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการขอมูลดานสุขภาพของประเทศ นี่เปนพันธกิจที่ยิ่งใหญ มากของเรา เหมือนกับสิ่งที่เราไดเรียนรูจากกูเกิลวา ถาพันธกิจทาทายมาก เทาไร OKRs ก็ยิ่งมีความสําคัญมากขึ้นเทานั้น หลายปทผี่ า นมา คิมมงนองชายของฉันพูดไดแค 3 คําคือ อมมา อัปปา และ นูน-า ซึ่งเปนภาษาเกาหลี แปลวา แม พอ และ พี่สาว คิมมงจึงเปน คนที่ใหทั้งชื1อและพันธกิจใหกับบริษัทของเรา ถึงตอนนี้ก็ขึ้นอยูกับเราและ พันธสัญญาทีเ่ รากําหนดไว ในระบบ OKRs ทีจ่ ะชวยพัฒนาระบบการประกัน สุขภาพสําหรับทุกคน ในเดือนมกราคม ป 2017 นูน?าไดเปดตัวกับโครงการเมดิเคด ซึ่ง แอนดรูว เอ็ม. สลาวิตต รักษาการผูอํานวยการศูนยบริการทางการแพทย และโครงการเมดิเคด ใหสัมภาษณกับนิตยสาร New York Times วา “ฐาน ขอมูลของนูน?าในระบบคลาวดนี้ ถือเปนปรากฏการณทางประวัติศาสตร ก็วาได ที่สามารถยกระดับฐานขอมูลจากแบบเดิมที่ฐานขอมูลของแตละรัฐ มีฐานแยกออกจากกันมาเปนระบบฐานขอมูลรวมกัน ซึ่งสามารถเห็นและ เชื1อมโยงขอมูลสุขภาพทั้งประเทศไดเปนครั้งแรก” ในเวลาเพียงไมกี่ป ทีมของนูน?าไดสรางผลกระทบเชิงบวกตอระบบ ประกันสุขภาพของสหรัฐฯ ไปตลอดกาล แตใครก็ตามที่รูจักจีนี่และเดวิด เขาจะบอกวาความจริงจังในการใหคํามั่นสัญญากับเรื1อง OKRs ของพวก เขาอาจจะเปนเพียงแคจุดเริ่มตนของการเขยาวงการนี้เทานั้น เขาอาจจะมี อะไรที่ทาทายมากกวานี้ตอไปอีกก็ ได
118
7
Superpower #2 : ปรับแตงและเชื1อมโยงการทํางานเปนทีม เราไมไดจางคนที่ฉลาด เพื1อมาบอกวาพวกเขาตองทําอะไร แตเราจางคนฉลาดมา เพื1อใหเขาสามารถบอกเราไดวาจะตองทําอะไร สตีฟ จ็อบส
จ
ากการทีเ่ รามีสื1อสังคมออนไลน ในปจจุบนั นี้ เรื1องความโปรงใสจึงไมใช เรื1องใหมอะไร ถือเปนเรื1องปกติธรรมดาสําหรับการดําเนินชีวติ ประจํา วันของคนเราไปแลว และความโปรงใสนี่แหละคือทางดวนพิเศษสําหรับ การนําพาองคกรไปสูระบบการบริหารจัดการชั้นเลิศไดเร็วขึ้นกวาเดิม แต ปจจุบันนี้ยังมีอีกหลายองคกรที่คิดวาเปาหมายคือเรื1องที่ยังตองเปนความ ลับอยู ทําให CEO จํานวนมากมีความรูสึกอึดอัดและสับสนกับเรื1องนี้มาก เชนเดียวกับ แอรอน เลวี่ ผูกอตั้งและ CEO ของบริษัทบอกซ ผู ใหบริการ ระบบคลาวด เขากลาววา “ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง มักจะมีคนจํานวนหนึ่ง ในองคกรกําลังทําบางสิ่งบางอยางผิดพลาด แตความทาทายคือ จะรูได อยางไรวาใครคือคนกลุมนั้น” จากผลการวิจยั พบวา เปาหมายองคกรภาครัฐ (เปาหมายเพื1อสาธารณะ) มีโอกาสบรรลุเปาหมายไดมากกวาเปาหมายในองคกรเอกชน เพียงแคพลิก สลับจากดานทีป่ ด อยูไ ปสูด า นที่ “เปด (เผย)” ก็สามารถทําใหเกิดความสําเร็จ ไดทั่วทั้งองคกร จากผลการสํารวจลาสุดจากคนทํางานสัญชาติอเมริกันใน สหรัฐอเมริกา พบวา 92% ของคนกลุม นีบ้ อกวา เขาจะอยากทํางานใหสาํ เร็จ มากยิ่งขึ้น ถาเขารูวาเพื1อนรวมงานของเขาสามารถเห็นความกาวหนาหรือ ความคืบหนาในงานที่เขาทําได
119
ในระบบ OKRs พนักงานระดับปฏิบัติทุกคนสามารถเห็นเปาหมาย ของคนอื1นๆ ได แมกระทัง่ เปาหมายของ CEO พวกเขาก็รูไดเชนกัน พนักงาน สามารถเขาไปมีสวนรวมไดทุกขั้นตอน ตั้งแตการกําหนดเปาหมายองคกร เปาหมายของหนFวยงานอื1น เพื1อนรวมงาน และถาอะไรที่เขาคิดวาไมดี เขาสามารถวิพากษวิจารณและแนะนําไดอยางเปดเผย ดังนั้น องคกรที่นํา OKRs เขามาใช ถือเปนยุคที่คนในองคกรมีอิสรภาพเทาเทียมกันมากที่สุด เมื1อพนักงานเขียนวา “นี่คือสิ่งที่ผมกําลังจะทํา” ในอีกไมนานทุกคนจะเห็น ชัดเจนวาทุกๆ อยางที่พนักงานจะทํานั้นมันเปนเรื1องเดียวกันกับเปาหมายที่ สําคัญขององคกร ปญหาตางๆ ที่เคยเกิดขึ้น เชน ความสงสัยวาใครทํางาน ไมเต็มที่ (ทํางานแบบกั๊กๆ) ปญหาการเมืองในองคกร หรือปญหาที่ฝายขาย ไมเห็นดวยกับแผนการตลาดจะหมดไป เพราะทุกคนจะไมอยูเฉยอีกตอไป พวกเขาจะแสดงความคิดเห็นทีแ่ ตกตางออกมาอยางเปดเผยเพื1อใหทกุ คนได รับรู ดังนั้น ระบบ OKRs ไดชวยใหวัตถุประสงคขององคกรมีความชัดเจน มากขึ้น ไมวาวัตถุประสงคจะถูกหรือผิดก็ตาม ความโปรงใสกอใหเกิดความรวมมือกัน สมมติวานาย A กําลัง ประสบปญหาในการทํางานใหบรรลุวัตถุประสงครายไตรมาสอยู จากการที่ มีระบบการติดตามความคืบหนาของงานทีเ่ ปนสาธารณะทุกคนเห็นได จะทํา ใหเพื1อนๆ รูไดเลยวานาย A ตองการความชวยเหลืออะไรจากคนอื1นๆ พวก เขาก็จะเขามาชวยเหลือใหคาํ แนะนํากับนาย A และสุดทายนาย A สามารถ แกไขปญหาทีต่ ดิ ขัดนัน้ ผานไปไดและทําใหผลงานของเขาดีขนึ้ ดังนัน้ เรื1อง ความเทาเทียมกันถือเปนเรื1องทีส่ าํ คัญมากทีจ่ ะชวยทําใหความสัมพันธ ในการ ทํางานรวมกันมีความแนบแนFนมากยิง่ ขึน้ ไมวา จะอยูในสถานการณไหนก็ตาม ในองคกรใหญๆ หลายองคกร การทํางานซํ้าซอนกัน (หลายคนมา ทํางานเดียวกัน) ถือเปนเรื1องปกติธรรมดาไปแลว ไมคอยมีใครคิดวาเปน ปญหาอะไร แตองคกรที่ใชระบบ OKRs จะไมมีปญหาแบบนี้เกิดขึ้น เพราะ ความชัดเจนจะเริม่ ตนตัง้ แตการกําหนดวัตถุประสงคของแตละคนวาใครทํา
120
อะไร และงานทีท่ าํ ตองไมซาํ้ ซอนกัน ดวยวิธกี ารนีจ้ ะชวยปองกันไมใหองคกร สูญเสียเวลาและคาใชจายที่ไมจําเปน
เมื1อเห็นภาพรวมเดียวกัน เมื1อผูบริหารระดับสูงกําหนดวัตถุประสงคเสร็จแลว การทํางานจริง ก็จะเริ่มขึ้น โดยการแปลงแผนงานไปสูการลงมือทําจริงในระดับผูจัดการ และระดับผูปฏิบัติงาน มันคือแนวทางการเชื1อมโยงการทํางานประจําวัน ใหเขากับวิสัยทัศนขององคกรนั่นเอง สําหรับคําศัพทที่อธิบายกระบวนการ นี้เราเรียกวา “การปรับแตง (Alignment)” ใหเปาหมายสอดคลองกัน ทั้งองคกร ซึ่งถือเปนกระบวนการที่มีประโยชนมากๆ ยากที่จะพูดและ อธิบายถึงประโยชน ในเรื1องนี้ ไดหมด จากรายงานของ Harvard Business Review พบวา องคกรทีม่ กี ารปรับแตงเปาหมายของพนักงานใหสอดคลองกับ เปาหมายขององคกรนั้น มีโอกาสเปนบริษัทชั้นนําดานผลประกอบการสูง กวาองคกรทั่วไปถึงสองเทาเลยทีเดียว เปนที่นFาเสียดายเปนอยางยิ่งที่การปรับแตงเปาหมายของพนักงาน ใหสอดคลองกับเปาหมายขององคกรเปนเรื1องที่เกิดขึ้นไดนอยมาก จากผล การศึกษาพบวามีเพียง 7% ของพนักงานในองคกรทีเ่ ขาใจกลยุทธทางธุรกิจ รูวาองคกรคาดหวังอะไรจากพวกเขาในการที่จะชวยใหบรรลุเปาหมายของ องคกร และจากผลการสํารวจความคิดเห็นของ CEO ทั่วโลก พบวาความ ทาทายอันดับหนึ่งในการเชื1อมโยงกลยุทธองคกรลงไปสูการปฏิบัติจริงคือ การที่คนในองคกรขาดความเขาใจเรื1องเปาหมายและขาดความรวมมือกัน อมีเลีย เมอรริลล เปนหัวหนาฝายบริหารทรัพยากรบุคคลของบริษัท RMS ซึ่งทําธุรกิจโมเดลลิ่งเอเยนซี่ในรัฐแคลิฟอรเนีย กลาววา “เราเจอ ปญหาเยอะแยะมากมาย เชน เรามีพนักงานทํางานอยูในหลายแหงที่มีโซน เวลาทํางานแตกตางกัน พนักงานบางกลุมก็ทํางานคูขนานกันไป บางคนก็ ทํางานรวมกัน ฯลฯ นี่คือเรื1องที่ยากมากที่จะทําใหพนักงานรูวาเขาควรจะ
121
ทํางานไหนกอน ดูเหมือนทุกงานจะสําคัญเรงดวนเหมือนกันหมด แตงาน ไหนละที่จําเปนจริงๆ ที่จะตองทําใหเสร็จ” คําตอบสําหรับคําถามนีค้ อื การโฟกัส (งานทีส่ าํ คัญ) และความโปรงใส ที่มีอยูในระบบ OKRs เพราะระบบ OKRs จะชวยเชื1อมโยงเปาหมายการ ทํางานของแตละคนไปยังเปาหมายของทีมงาน เปาหมายของโครงการและ เปาหมายของหนFวยงาน และเชื1อมตอไปถึงภารกิจในภาพรวมขององคกร คนทํางานในองคกรตองการรูวาตอนนี้ผูนําของเรากําลังทําอะไร และงาน ที่เราทําอยูมีความเชื1อมโยงอยางไรกับงานนั้นบาง ระบบ OKRs คือเครื1อง มือที่จะชวยใหเราเชื1อมโยงเปาหมายในแนวดิ่งได (จากเปาหมายองคกรสู เปาหมายคนทํางาน)
แผนผังหลักในการกระจายเปาหมาย ในอดีต รูปแบบการทํางานของธุรกิจจะเนนใหความสําคัญกับการ ขับเคลื1อนเปาหมายองคกรจากบนลงลางเปนลําดับชั้นลงไป เริ่มจากการที่ ผูบริหารระดับสูงกําหนดวัตถุประสงคระดับองคกร และสงวัตถุประสงคนั้น ลงไปยังผูจัดการฝาย ผูจัดการฝายก็จะสงวัตถุประสงคนั้นตอไปยังแผนก และแผนกก็จะสงตอๆ ไปจนถึงคนทํางาน ในปจจุบันนี้ การกระจายเปาหมายในรูปแบบนี้ ไมคอยไดความนิยม แลว อาจจะยังมีอยูบางในองคกรใหญๆ บางแหงเทานั้น สิ่งที่เห็นไดชัดเจน จากระบบนีค้ อื ผูบ ริหารมัน่ ใจไดวา วัตถุประสงคขององคกรไดกระจายลงไป ถึงพนักงานอยางไมผดิ เพีย้ น และมัน่ ใจไดวา พนักงานจะทํางานไดตรงกับสิง่ ทีผ่ บู ริหารกําหนดให เพราะมันเปนระบบสัง่ การจากบนลงลางโดยทีค่ นระดับ ตางๆ ไมตองคิดอะไรเพิ่มเติม และประโยชนที่ดีที่สุดของระบบการกระจาย เปาหมายแบบนีค้ อื การบังคับใหคนทัง้ องคกรทํางานเปนหนึง่ เดียวกันเทานัน้ ซึ่งถือวาเปนเรื1องธรรมดามากๆ
122
ในการนําเสนอของผมตอกูเกิลและอีกหลายๆ องคกร ผมใชภาพของ ทีมอเมริกันฟุตบอลในการแสดงใหเห็นวาระบบ OKRs มีประสิทธิภาพและ เหมาะสมกับสถานการณ ในแตละองคกรหรือไม จงปฏิบัติตาม OKRs ที่กระจาย จากระดับบนลงสูระดับลาง
แซนดฮิลลยูนิคอรนส : เกมแฟนตาซีฟุตบอล ลองมาสมมติวา ถาผมเปนผูจัดการทั่วไปของทีมของแซนดฮิลล ยูนิคอรนส ผมมีแคหนึ่งวัตถุประสงค นั่นคืออะไรที่สามารถสรางรายได ให กับเจาของทีม (สโมสร) ผูจัดการทั่วไป วัตถุประสงค สรางรายได ใหกับเจาของทีม ผลลัพธที่สําคัญ 1. ชนะเลิศถวยซูเปอร โบวล 2. จํานวนผูเขาชมเกมในบานไมตํ่ากวา 90% แผนผังที่ 1 OKRs - ผูจัดการทั่วไป
เปาหมายของผมมีผลลัพธที่สําคัญ 2 ขอคือ ชนะเลิศถวยซูเปอร โบวล และจํานวนผูเขาชมเกมที่เลนในบานไมตํ่ากวา 90% ของจํานวนที่ นั่งทั้งหมด นี่คือแนวทางที่จะตอบไดวาผมจะสรางรายได ใหกับเจาของทีม ไดอยางไร ถาผมทําสําเร็จทั้งสองเรื1องนี้ คงเปนไปไมไดที่เราจะไมมีกําไร ดังนั้น นี่คือตัวอยางของการกําหนด OKRs ที่มีประสิทธิภาพ จาก OKRs ระดับบนสุด เราทําการกระจายลงสูระดับลาง
123
หัวหนาสตาฟฟโคช วัตถุประสงค ชนะเลิศถวยซูเปอร โบวล 1. สามารถผานการบุกไดมากกวา 300 หลาตอเกม 2. ปองกันเพื1อใหฝงตรงขามไดคะแนนนอยกวา 17 คะแนนตอเกม 3. ทีมพิเศษติดอันดับ 1 ใน 3 ของการเตะบอลทิ้ง เพื1อกินระยะของพื้นที่ (Punt Return)
โคชทีมบุก วัตถุประสงค สามารถผานการบุกไดมากกวา 300 หลา ผลลัพธที่สําคัญ 1. สามารถบุกไดสําเร็จมากกวา 65% 2. ปองกันไมใหเกิดการถูกแยงรับลูก โดยทีมรับสามารถแยง รับลูกที่ฝายตรงขามขวางใหเพื1อนรวมทีม โดยไมใหเกิน 1 ครั้งตอเกม 3. จางโคชควอเตอรแบคคนใหม
โคชทีมรับ วัตถุประสงค ปองกันเพื1อใหฝงตรงขามไดคะแนน นอยกวา 17 คะแนนตอเกม ผลลัพธที่สําคัญ 1. ปองกันไมใหบุกไดเกิน 100 หลาตอเกม 2. เพิ่มการแยงลูกจากควอเตอรแบค (Sacks) ใหมากกวา 3 ครั้งตอเกม 3. พัฒนาใหตําแหนFงคอรเนอรแบค (ตําแหนFงที่ปองกันผูเลน รับลูกฝายรุกในการรับลูกบอล และบางครั้งก็อาจทําการ จูโจมเขาหาควอเตอรแบค) ติดในเกม Pro Bowl มาก ยิ่งขึ้น (Pro Bowl คือ เกมหลังซูเปอร โบวลที่จะเนนการ เฟนหาทีมรวมดาราที่เกงของทุกทีมมาเลนรวมกัน)
โคชทีมพิเศษ วัตถุประสงค เพิ่มระดับใหติด 1 ใน 3 สําหรับทีมที่สามารถ เตะบอลทิ้งเพื1อกินระยะของพื้นที่ ผลลัพธที่สําคัญ 1. ปองกันไมใหบุกยอนมาเกิน 10 หลาตอการเตะกินระยะ ของพื้นที่ 2. สกัดกั้นการกินระยะของพื้นที่ของฝายตรงขามใหมากกวา 4 ครั้งตอฤดูกาลการเลน แผนผังที่ 2 OKRs - สําหรับทีมโคช
124
ในฐานะผูจัดการทั่วไป ผมไดกระจายเปาหมายของผมลงไปสูระดับ ทีมบริหารตอไป หัวหนาสตาฟฟโคช และรองประธานอาวุโสฝายการตลาด โดยผลลัพธของผมจะกลายไปเปนเปาหมายของพวกเขา (ดูไดจากแผนผัง OKRs-2) เปาหมายของหัวหนาสตาฟฟโคช (Head Coach) คือ จะตองชนะ ซูเปอร โบวล และผลลัพธสามขอทีจ่ ะทําใหเขาบรรลุเปาหมายนัน้ คือ สามารถ ผานการบุกไดมากกวา 300 หลาตอเกม การปองกันเพื1อใหฝงตรงขามได คะแนนนอยกวา 17 คะแนนตอเกม ทีมพิเศษติดอันดับ 1 ใน 3 ของการ เตะบอลทิง้ เพื1อกินระยะของพืน้ ที่ (Punt Return) โดยเขาไดถา ยทอด OKRs เหลานัน้ ไปสูท มี ผูบ ริหารระดับสูงสามคนคือ โคชทีมบุก (Offensive Coach) โคชทีมรับ (Defensive Coach) และโคชทีมพิเศษ (Special Teams Coach) โดยพวกเขาหันมาคิดคนผลลัพธหลักในระดับทีต่ าํ่ ลงมาเพื1อใหบรรลุ เปาหมาย ตัวอยางเชน ถาจะผานการบุกไดมากกวา 300 หลา ทีมบุกจะตอง บุกไดสาํ เร็จมากกวา 65% และสามารถปองกันไมใหถกู แยงรับลูก (Interception) ไมใหเกิน 1 ครัง้ ตอเกม หลังจากการซือ้ ตัวโคชควอเตอรแบคคนใหมมา OKRs ทั้งหมดนี้ถูกจัดวางใหเปนไป ตามเปาหมายของผูจัดการทั่วไป นั่นคือการชนะถวยซูเปอร โบวล
เทานี้ยังไมพอ เรายังตองหาวิธีการวา เราจะทําใหจํานวนผูเขาชมเกมในบาน ไมตํ่ากวา 90% ไดอยางไร
125
ผูจัดการทั่วไป วัตถุประสงค สรางรายได ใหกับเจาของทีม ผลลัพธที่สําคัญ 1. ชนะเลิศถวยซูเปอร โบวล 2. จํานวนผูเขาชมเกมในบาน ไมตํ่ากวา 90%
หัวหนาสตาฟฟโคช
รองประธานอาวุโสฝายการตลาด
วัตถุประสงค
วัตถุประสงค
ชนะเลิศถวยซูเปอร โบวล ผลลัพธที่สําคัญ 1. สามารถผานการบุกไดมากกวา 300 หลาตอเกม 2. ปองกันเพื1อใหฝงตรงขามไดคะแนน นอยกวา 17 คะแนนตอเกม 3. ทีมพิเศษติดอันดับ 1 ใน 3 ของการเตะบอลทิ้ง เพื1อกินระยะของพื้นที่
จํานวนผูเขาชมเกมในบานไมตํ่ากวา 90% ผลลัพธที่สําคัญ 1. เพิ่มระดับการสรางแบรนดของทีม 2. พัฒนาการวัดผลอีเวนตจากการ ประชาสัมพันธตามสื1อตางๆ ใหเพิ่มขึ้น 3. สรางสีสันให โปรแกรมสงเสริมการขายในสนาม
โคชทีมบุก
ผูอํานวยการฝายการตลาด
วัตถุประสงค
วัตถุประสงค
สามารถผานการบุกไดมากกวา 300 หลา
เพิ่มระดับการสรางแบรนดของทีม
ผลลัพธที่สําคัญ 1. สามารถบุกไดสําเร็จมากกวา 65% 2. ปองกันไมใหเกิดการถูกแยงรับลูก โดยทีมรับ สามารถแยงรับลูกที่ฝายตรงขามขวางใหเพื1อน รวมทีม โดยไมใหเกิน 1 ครั้งตอเกม 3. จางโคชควอเตอรแบคคนใหม
ผลลัพธที่สําคัญ 1. ตั้งเปาสรางผูเลนที่มีสีสันสองคนสําหรับ การนําเสนอแคมเปญการตลาดใหม 2. สรางสโลแกนของทีมที่นFาสนใจมากยิ่งขึ้น
โคชทีมบุก
ฝายสื1อประชาสัมพันธ
วัตถุประสงค
วัตถุประสงค
ปองกันเพื1อใหฝงตรงขามไดคะแนนนอยกวา 17 คะแนนตอเกม ผลลัพธที่สําคัญ 1. ปองกันไมใหบุกไดเกิน 100 หลาตอเกม 2. เพิ่มการแยงลูกจากควอเตอรแบคใหมากกวา 3 ครั้งตอเกม 3. พัฒนาใหตําแหนFงคอรเนอรแบค ติดในเกม Pro Bowl มากยิ่งขึ้น
พัฒนาการวัดผลอีเวนตจากการประชาสัมพันธ ตามสื1อตางๆ ใหเพิ่มขึ้น ผลลัพธที่สําคัญ 1. จัดใหผูเลนในทีมเขารวมกิจกรรมการกุศล สองครั้งตอหนึ่งฤดูกาล 2. เชิญนักขาวกีฬา 20 คนเขาพบ และพูดคุย กับทีมนักกีฬา 3. แชรรูปภาพงานแขงตางๆ ในโซเชียลมีเดีย
โคชทีมพิเศษ
ผูจัดการฝายสินคา
วัตถุประสงค เพิ่มระดับใหติด 1 ใน 3 สําหรับทีมที่สามารถเตะ บอลทิ้งเพื1อกินระยะของพื้นที่ ผลลัพธที่สําคัญ 1. ปองกันไมใหบุกยอนมาเกิน 10 หลาตอการเตะ กินระยะของพื้นที่ 2. กั้นการกินระยะของพื้นที่ของฝายตรงขาม ใหมากกวา 4 ครั้งตอฤดูกาลการเลน
วัตถุประสงค สรางสีสันให โปรแกรมสงเสริมการขายในสนาม ผลลัพธที่สําคัญ 1. ติดตอบริษัทรับทําของที่ระลึก 10 แหง 2. กําหนดราคาสําหรับ 5 ทางเลือก 3. นําเสนอความคิด 3 แบบในการแจกของ ในสนามกีฬาภายใน 1 สิงหาคม
แผนผัง OKRs 3 – OKRs สําหรับองคกร
126
ในขณะเดียวกัน รองประธานอาวุโสฝายการตลาดของผมไดบรรลุ วัตถุประสงคของเธอจากผลลัพธอีกขอหนึ่งของผม นั่นคือ การจะเติมที่นั่ง ใหเต็ม 90% (ดูจากแผนผัง OKRs-3) เธอไดกําหนดผลลัพธที่สําคัญ 3 ขอ คือ เพิ่มระดับการสรางแบรนดของทีม พัฒนาการวัดผลอีเวนตจากการ ประชาสัมพันธตามสื1อตางๆ (Media Coverage) ใหเพิ่มขึ้น และการสราง สีสันให โปรแกรมสงเสริมการขายในสนาม OKRs เหลานี้ถูกถายทอดลงมา เปนเปาหมายของผูอํานวยการฝายการตลาด ฝายสื1อประชาสัมพันธ และ ผูจัดการสินคา ตามลําดับ ลองมาสังเกตและวิเคราะหกันวา ตอนนี้ปญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร และนีค่ อื สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ผลลัพธของรองประธานอาวุโสฝายการตลาดดูคลุมเครือ ไมชัดเจน ไมเหมือนกับ OKRs ของหัวหนาทีมสตาฟฟโคชที่สามารถวัดได ชัดเจน ตัวชี้วัดของเธอไมไดกําหนดกรอบเวลาและไมไดอธิบายวาคําวา “พัฒนา” นั้นคืออะไร เชน พัฒนาเรื1องการครอบคลุมสื1อชองทางตางๆ ไมไดระบุไวอยางชัดเจนวา ตองมีสกูปพิเศษในชอง ESPN ซึ่งเปนเคเบิล ทีวีกีฬา 24 ชั่วโมง จํานวน 5 ครั้ง หรือตองไดขึ้นปกของนิตยสาร Sport Illustrated หนึง่ ครัง้ หรือตองมีจาํ นวนผูต ดิ ตามในโซเชียลมีเดียเพิม่ ขึน้ 50% แมวาการวัดผลลัพธที่สําคัญของรองประธานอาวุโสฝายการตลาด มีความชัดเจนมากขึ้นแลวก็ตาม การทําใหบรรลุเปาหมายองคกรก็ยังมีขอ บกพรองอยู แตมันก็แคทําใหคนที่สําเร็จอยูแลวสําเร็จมากขึ้นก็เทานั้นเอง ผลลัพธที่สําคัญเหลานั้นก็ ไมไดทําใหผูจัดการทั่วไปตลอดไปจนถึงทีมงาน ของฝายการตลาด อาจจะเปนพนักงานฝกหัด เจาหนาที่ประชาสัมพันธที่ทํา หนาทีอ่ ยูก บั การถายเอกสารทัง้ วันเกิดแรงจูงใจในการทํางานขึน้ มาเลย เพราะ เปาหมายไปเนนที่การโปรโมตคนที่เกงคนที่สําเร็จอยูแลวมากกวา ถาเปาหมายองคกรถูกถายทอดลงสูร ะดับลางอยางเหมาะสม จะทําให เกิดการทํางานทีส่ อดคลองกัน แตถา ในกระบวนการกระจายเปาหมายองคกร ลงสูร ะดับปฏิบตั งิ านนัน้ เกิดความผิดพลาด เบีย่ งเบนไปจากเปาหมายองคกร จะกอใหเกิดผลกระทบในเชิงลบใน 4 เรื1องคือ
127
x
x
x
x
สูญเสียความคลองตัว แมบริษัทขนาดกลางจะมีระดับการบังคับ บัญชาแคเพียง 6-7 ระดับ ปกติแลวทุกเปาหมายที่กระจายมา จากผูบริหารระดับสูงตองใชเวลานาน เพราะตองรอการประชุม การแสดงความคิดเห็นอาจจะใชเวลาหลายเดือนกวาเปาหมายจะ กระจายลงมาถึงคนทํางาน ถามีการกระจายเปาหมายแบบ OKRs ซึง่ มีการกระจายเปาหมายทีเ่ ร็วขึน้ และถีข่ นึ้ อาจจะทําใหคนทํางาน เกิดการตอตานได และอาจจะทําใหเห็นวาการกําหนดเปาหมาย เปนรายไตรมาสนั้นใชจริงไมได ขาดความยืดหยุน เนื1องจากการกระจายเปาหมายองคกรสูระดับ ตางๆ นั้นตองใชความพยายามอยางสูงและอาจจะเปน ภาระ พนักงานจึงไมคอยอยากจะปรับเปลี่ยนเปาหมายในระหวางรอบ ไตรมาส เพราะมันคือภาระทีเ่ พิม่ ขึน้ เพราะเขาตองทําทัง้ การรักษา เปาหมายเดิมใหสอดคลองกับเปาหมายขององคกรไปพรอมๆ กับ การปรับเปลี่ยนเปาหมายใหม เมื1อเวลาผานไปการรักษาระบบเอา ไวจะกลายเปนเรื1องยุงยากและทาทาย พนักงานมีสวนรวมนอย ระบบการถายทอดเปาหมายแบบเดิมที่ มีการสัง่ การจากบนลงลาง เปนระบบทีม่ คี วามยืดหยุน นอย เพราะ ทุกคนทําตามคําสัง่ พนักงานมีโอกาสปกปดขอมูลบางอยางได เมื1อ นําระบบ OKRs เขามาใชอาจจะทําใหพนักงานไมคอ ยแนFใจในการ ใหขอมูล เปดเผยขอมูล แสดงความคิดเห็น หรือนําเสนอไอเดีย ใหมๆ ใหคนอื1นทราบ เชื1อมโยงกันเพียงมิติเดียว การกระจายเปาหมายในแนวดิ่ง ดูความสอดคลองกันเพียงมิตเิ ดียวคือจากบนลงลาง อาจจะทําให ขาดประสิทธิภาพในการเชื1อมโยงเปาหมายในระนาบเดียวกันคือ หนFวยงานหรือคนทํางานในระดับเดียวกัน
128
จากลางขึ้นบน ถือเปนความโชคดีที่ระบบ OKRs มีทางเลือกใหเราเพิ่มมากขึ้น เพราะเมื1อทุกอยางโปรงใส ทุกคนสามารถเปดเผย OKRs ของตนเองให คนอื1นๆ รับทราบได โดยไมจําเปนตองถูกบังคับใหกระจายจากบนลงลาง แบบทีละชั้นๆ ตามลําดับการบังคับบัญชา เชน CEO ไมจําเปนตองกระจาย เปาหมายมายังรองประธานกรรมการกอน แลวคอยกระจายตอไปยังผูจ ดั การ ฝาย ผูจ ดั การฝายกระจายตอไปยังผูจ ดั การแผนก แต CEO สามารถกระจาย เปาหมายของตนเองขามผูบริหารระดับตางๆ ลงไปยังผูจัดการแผนกเลย ก็ ได และผูนําองคกรสามารถนําเสนอ OKRs ใหทุกคนรูพรอมๆ กัน และ อาจจะบอกทุกคนวา “เอาละ ตอนนี้รูแลววาเราจะไปที่ไหน และเราจะปรับ เปลี่ยนเปาหมายเพื1อไปที่นั่นกัน” ลาสซโล บ็อค อดีตหัวหนาฝายบริหารงานทรัพยากรบุคคลของกูเกิล เขาได ใหขอสังเกต และเขียนไว ในหนังสือชื1อวา Work Rules วา เนื1องจากกูเกิลมีพนักงานเปนหมื1นคน ถาระบบ OKRs ยังมีการ กระจายเปาหมายจากบนลงลางแบบทีละชัน้ ๆ ตามสายการบังคับบัญชา อาจจะเปนอุปสรรคตอวัฒนธรรมองคกรและนวัตกรรมของกูเกิลได เปาหมายเปนสิ่งที่ชวยใหเกิดการพัฒนาก็จริงอยู แตการเอาเวลา มานั่งบอกวาเปาหมายตัวไหนสําคัญมากกวา และตัวไหนสําคัญนอยกวา มันไมชวยอะไรเลย วิธีการทํา OKRs ของบริษัทเราจะเหมือนกับวิธีทางการ ตลาด ตรงที่ OKRs สูงสุดถูกสื1อสารออกไปจนทุกคนในองคกรซึมซับ สงผล ให OKRs ยอยก็ตองถูกประกาศออกมาเชนกัน สุดทายแลว เปาหมายทุก ตัวในบริษัทตางก็วิ่งมารวมเปนเนื้อเดียวกัน เมื1อเปนแบบนี้ เวลาที่ทีมไหน แตกแถวก็มองเห็นไดงา ย หรือพอมีโปรเจกตเจงๆ หลุดออกมาเราก็ ไมพลาด
129
อีกแนวทางหนึง่ ทีต่ รงขามกับระบบการกระจายเปาหมายคือ แนวทาง ของกูเกิลทีเ่ รียกวา “เวลา 20%” ซึง่ กูเกิลไดอนุญาตใหวศิ วกรใชเวลา 20% ของเวลาทํางานไปทํางานในโครงการอื1นๆ ทีต่ นเองสนใจอยากจะทําได เชน สามารถใชเวลา 1 วันตอสัปดาหทําอะไรก็ ไดที่อยากทํา ซึ่งการเปดโอกาส ใหพนักงานมีอิสระในการทําสิ่งที่อยากทํานี้ ไดชวยใหกูเกิลเปลี่ยนโลกไป เรียบรอยตามที่เรารูกัน โดยในป 2001 พอล บุชฮีต ได ใชเวลาในโครงการ 20% นี้ ไปทําโครงการที่ชื1อวา คาริบู (Caribou) ซึ่งปจจุบันกลายมาเปน สิ่งที่คนทั่วโลกรูจักกันในนาม จีเมล (Gmail) ซึ่งเปนบริการอีเมลทางเว็บ ชั้นนําของโลก เพื1อหลีกเลีย่ งการยัดเยียดและการปรับแตงเปาหมายใหสอดคลองกับ เปาหมายองคกรอยางเอาเปนเอาตายมากเกินไป องคกรทีด่ จี งึ ควรจะสนับสนุน ใหมีการตั้งเปาหมายจากลางขึ้นบนไดดวย ตัวอยางเชน นักกายภาพบําบัด หญิงคนหนึ่งของแซนดฮิลลยูนิคอรนส เธอไดเขารวมสัมมนาเวชศาสตร การกีฬา และเรียนรูศาสตรการปองกันการบาดเจ็บสูตรใหม จากความรูสึก ของเธอแมวา เรื1องนีจ้ ะไมไดสอดคลองกับวัตถุประสงค OKRs ของผูจ ดั การ โดยตรงของเธอก็ตาม แตเรื1องนี้ไปสอดคลองกับเปาหมายของผูจ ดั การทัว่ ไป ซึ่งเปนหัวหนาที่สูงกวาผูจัดการของเธออีกระดับหนึ่ง เธอคิดวาถานักกีฬา ตัวท็อป (ตัวเกงๆ) ของยูนิคอรนสสามารถรักษาสุขภาพตามสูตรใหมที่เธอ ไดไปเรียนรูมาได ทีมนี้ก็จะมีโอกาสชนะไดถวยซูเปอร โบวลได นวัตกรรมสวนใหญจะเกิดจากหนFวยงานทีอ่ ยูส ว นกลางหรือสํานักงาน ใหญขององคกร มากกวาจะเกิดจากหนFวยงานระดับปฏิบัติที่อยูหนางาน แตสําหรับระบบ OKRs พลังที่จะทําใหเกิดนวัตกรรมไดมากที่สุดมักจะมา จากหนFวยงานในภาคปฏิบตั ทิ อี่ ยูห า งไกลจากผูบ ริหารระดับสูงมากกวา ขณะ ที่ แอนดี้ โกรฟ สังเกตวา “คนที่อยูในหนางานจริงหรือผูปฏิบัติงานมักจะรับ รูการเปลี่ยนแปลงไดกอนคนอื1นๆ เชน พนักงานขายจะเขาใจความตองการ ของลูกคากอนผูบริหาร หรือนักวิเคราะหทางการเงินเปนคนแรกๆ ที่จะรูวา ปจจัยพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจเปนอยางไร”
130
ในการบริหารจัดการแบบไมโคร (Micromanagement หมายถึง การบริหารงานที่มีการวางแผน กําหนดเปาหมาย และควบคุมงานทุกอยาง อยางละเอียดมากๆ) ถือเปนการจัดการที่ผิดพลาด สภาพแวดลอมของ ระบบ OKRs ที่ดีนั้นจะอยูตรงกลางระหวางระบบการควบคุมและการมี อิสระในการทํางาน เปนระบบที่ผสมผสานระหวางเปาหมายรวมกับความ คิดสรางสรรค ปเตอร ดรักเกอร ไดเขียนบันทึกไววา “พนักงานมืออาชีพ ตองการเปาหมายทีท่ า ทายและมาตรฐานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ขมงวดจับตองได สวนจะใชวธิ กี ารแบบไหนในการทํางานก็ถอื เปนความรับผิดชอบของเขาเอง” สําหรับที่อินเทล โกรฟใหมุมมองที่ชัดเจนวา “การแทรกแซงแบบมีอคติ (Managerial Meddling)” เมื1อไหรกต็ ามทีผ่ จู ดั การเขามาในงานของลูกนอง ลูกนองจะเริม่ ลดความคาดหวังตอตนเองลง ใหความสนใจในการแกปญ หา ตางๆ นอยลง และมักโยนภาระตางๆ ใหกับหัวหนางานแทน ผลกระทบที่ เกิดขึ้นคือ ผลลัพธขององคกรจะลดลงเปนอยางมากเชนกัน ระบบ OKRs ที่เหมาะสมควรจะเปดโอกาสใหคนทํางานกําหนด วัตถุประสงคบางขอไดบาง และควรจะกําหนดผลลัพธที่สําคัญทั้งหมดหรือ เกือบทั้งหมดดวยตนเอง คนทํางานมักจะถูกกระตุนใหกําหนดเปาหมาย ที่ทาทายกวา และชวยใหเขามีผลงานที่สูงกวาที่เขากําหนดขึ้นมาเอง ดังคํากลาวทีว่ า “เมื1อเปาหมายสูงขึน้ ผลงานยอมสูงตาม” คนทีเ่ ปนผูก าํ หนด จุดหมายปลายทางยอมมีความตระหนักและรูดีวาจะตองทําอะไรอยางไรจึง จะไปใหถึงจุดหมายนั้น เปาหมายที่คนอื1นกําหนดใหเรา เราจะไมรูสึกผูกพันเหมือนกับ เปาหมายที่เรากําหนดขึ้นมาเอง ตัวอยางเชน ถาแพทยสั่งใหผมลดระดับ ความดันโลหิต โดยการใหฝกฝนซอมเพื1อไปวิ่งในรายการซานฟรานซิสโก มาราทอน ผมคงไมคอยพอใจสําหรับคําแนะนําแบบนั้น แตถาผมตัดสินใจ ลงแขงวิง่ มาราทอนดวยตนเอง ผมนFาจะมีแนวโนมถึงเสนชัยไดไมยาก และ ถาผมไดวิ่งไปพรอมๆ กับเพื1อนๆ ดวยก็นFาจะดีมากยิ่งขึ้น
131
ในการบริหารธุรกิจ ผมไดคนพบวาเปนไปไดยากมากที่จะมีคําตอบที่ ถูกตองเพียงคําตอบเดียว คือไมมวี ธิ กี ารหรือแนวทางใดทีจ่ ะเหมาะสมและได ผลทีส่ ดุ กับทุกองคกร การปลดล็อกกฎเกณฑบางเรื1องใหคนทํางานไดคน พบ ทางเลือกหรือทางออกดวยตัวเขาเอง จะชวยใหทกุ คนเปนผูช นะ (เปาหมาย องคกรสําเร็จ) พนักงานรูส กึ มีคณ ุ คา สําหรับทีมงานทีม่ งุ เนนงานในหนาทีส่ งู จะพยายามหาทางลดความตึงเครียดระหวางเปาหมายจากบนลงลางและ เปาหมายจากลางขึ้นบน ซึ่งเปนการผสมผสาน OKRs ที่สอดคลองและไม สอดคลองกับเปาหมายองคกร ในชวงเวลาที่งานปฏิบัติการมีความสําคัญและเรงดวน การบริหาร แบบสั่งการจากบนลงลางอาจจะเหมาะสม แตในชวงเวลาที่องคกรกําลัง เติบโต อาจจะตองเพิ่มระดับการทํางานจากลางขึ้นบนใหมากขึ้น และการ ลดความเขมขนของการสั่งการจากบนลงลางลง ผูนําองคกรจะตองบริหาร ความสมดุลระหวางการเปลีย่ นแปลงของธุรกิจกับความตองการของพนักงาน ใหเหมาะสม ดังนั้น การกําหนดสัดสวนระหวางการกําหนดเปาหมายจาก บนลงลางและลางขึ้นบนอาจจะเปนแบบ 50 : 50 ก็นFาจะเหมาะสมดีแลว
การประสานงานขามสายงาน ถึงแมวาองคกรจะประสบความสําเร็จในการตั้งเปาหมายแบบใหมที่ มองเห็นความสัมพันธจากบนลงลางไดอยางชัดเจนแลวก็ตาม แตสําหรับ งานโครงการก็ยงั มีปญ หาเรื1องตางคนตางทําอยู แนวทางการแกปญ หานีค้ อื การเพิ่มการเชื1อมโยงและประสานงานระหวางหนFวยงาน ระหวางทีมงาน และระหวางคนทํางานดวยกัน เมื1อองคกรมีขนาดใหญขึ้น มีความซับซอน มากขึ้น การทํางานแบบเดิมๆ เชน ตางคนตางทํา ถาเรื1องผลิตภัณฑ ก็เปน หนาที่ของวิศวกรหนFวยงานเดียว ถาเปนเรื1องการตลาด ก็ตองเปนหนาที่ ฝายขาย คงจะคงไมเหมาะสมอีกตอไป องคกรจําเปนตองมีเครื1องมือหรือ ตัวชวยในการทําใหการทํางานของทุกหนFวยงานเชื1อมตอและสอดคลองกัน เพื1อใหทุกหนFวยงานมุงหนาไปถึงเสนชัยดวยกัน
132
บริษัทที่มีระบบการเชื1อมตอกันภายในองคกรที่ดีคือ บริษัทที่มีความ คลองตัวกวาในการสรางความไดเปรียบทางธุรกิจ ผูนําและพนักงานทั้ง องคกรมีการเชื1อมโยงถึงกันหมดทั้งแนวดิ่งและแนวนอน ทําใหปญหาและ อุปสรรคตางๆ ถูกกําจัดใหหมดไป ลาสซโล บอค ไดชี้ ไววา ระบบ OKRs ที่โปรงใสจะชวยสงเสริมใหทุกคนมีอิสระในการสรางความรวมมือกันทั่วทั้ง องคกร “ทุกคนในองคกรสามารถเห็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ไดทนั ทีตลอดเวลา อารมณ ก็จะประมาณวา องคกรประเภทนี้ ไมมีตําแหน=งทางพฤตินัย ใครสนใจตรง ไหน ก็ขามสายงานไปชวยกันไดเลย และแลวชางออกแบบโทรศัพทมือถือ ก็กระโดดไปชวยงานทีมซอฟตแวร เพราะทีมชางสนใจอยากลองชวยออกแบบ หนาจอแอพพลิเคชั่นดวยคน” เมื1อเปาหมายเปดเผยใหทกุ คนรับรูแ ละมองเห็นได การทํางานในรูปแบบ “ทีมงานของทีม” (หมายถึง ทีมงานที่เกิดจากการรวมตัวของคนจาก หลากหลายหนFวยงานหลายระดับ เพื1อมาชวยจัดการแกปญหาใดปญหา หนึ่งใหหมดไปโดยไมไดสนใจวาปญหานั้นเปนของใครหนFวยงานไหน) สามารถจัดการกับปญหาที่เกิดขึ้นไดทุกที่ในองคกร ซึ่งบอคไดกลาวไววา “ถามีใครบางคนตีลกู ออกจากสนาม หรือถาใครทําผิดพลาดบอยๆ คุณสามารถ เห็นและตรวจสอบไดทนั ที ระบบความโปรงใสชวยใหคณ ุ เห็นสัญญาณตางๆ จากทุกคนไดงายและเร็ว ดังนัน้ ระบบการบริหารจัดการแบบนีจ้ ะชวยใหคณ ุ สามารถตัดวงจรอุบาทวออกไป และชวยใหคณ ุ นําเอาความสามารถทีม่ อี ยูม า ทําสิ่งตางๆ ใหสําเร็จ รับรองไดวาคุณจะรูสึกทึ่งกันมันแนFๆ
133
8
การปรับแตงใหสอดคลองกัน : เรื1องราวของมายฟตเนสพัล ไมค ลี
ผูรวมกอตั้งและ CEO
เ
รื1องราวทัง้ หมดเริม่ ตนจากงานแตงงานบนชายหาดของ ไมค กับ เอมี่ ลี เนื1องจากกอนทีจ่ ะถึงวันแตงงาน เขาทัง้ สองตองการตองการลดนํา้ หนัก ลง โดยที่เทรนเนอรฟตเนสของเขาไดกําหนดรายการอาหารพรอมขอมูล คุณคาของสารอาหารกวา 3,000 รายการ รวมถึงกระดาษจดบันทึกสําหรับ ติดตามปริมาณแคลอรี่ที่กินเขาไป ไมคซึ่งเปนคนที่เกงเรื1องโปรแกรม และ เขาสามารถเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรไดตั้งแตอายุสิบขวบ คิดวามันน6า จะมีวิธีที่ดีกวานี้ ดังนั้น เขาจึงลงมือไดหาวิธีการที่ชวยทําใหการลดนํ้าหนัก งายและไดผลดีกวาวิธีที่เทรนเนอร ใหมา จากเรื1องราวนี้เองที่ทําใหเปนจุด เริ่มตนของการเกิดเปนมายฟตเนสพัล (MyFitnessPal) โดยที่ไมคและ อัลเบิรตตางใชเงินทุนของตนเองทั้งจากเงินออมและบัตรเครดิตของพวก เขา ในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นนี้ ซึ่งใชเวลานานถึงแปดปเลยทีเดียว ทุกวันนี้ พี่นองตระกูลลีไดกลายเปนผูนําในระดับตํานานแหงวงการ ดูแลสุขภาพทีส่ ามารถวัดไดและจับตองไดดว ยระบบดิจทิ ลั ภารกิจหลักของ พวกเขาคือ การสรางโลกของคนที่มีสุขภาพดี ยอนไปเมื1อป 2013 ที่บริษัท ไคลเนอร เพอรคินส ไดตัดสินใจเขามาลงทุนในมายฟตเนสพัล ณ เวลานั้น แอพพลิเคชั่นมีผู ใชงานที่ลงทะเบียนถึง 45 ลานคน และจนถึงทุกวันนี้มี
134
ผู ใชมากกวา 120 ลานคนแลว รวมถึงพวกเขาไดชว ยใหผู ใชงานสามารถลด นํา้ หนักรวมกันไดถงึ 300 ลานปอนด พรอมกับฐานขอมูลอาหารกวา 14 ลาน ขอมูล ระบบนี้ ไดมีการเชื1อมโยงแบบเรียลไทมกับฟตบิตและแอพพลิเคชั่น ตางๆ อีกหลายสิบแอพพลิเคชั่น ทําใหมายฟตเนสพัลสามารถติดตามไดทั้ง ปริมาณการกินและประสิทธิภาพการออกกําลังกายไดงายขึ้น รวมถึงชวย แสดงใหเห็นถึงปริมาณการเผาผลาญแคลอรี่จากการวิ่งตอนเชา ตัวอยาง เชน มายฟตเนสพัลจะใหผู ใชงานตั้งเปาหมายสวนบุคคลเปนรายวันไดเลย เพราะการตั้งเปาหมายเปนรายวันจะชวยปรับเปลี่ยนวิถีในการใชชีวิตของ คุณในแตละวันได นอกจากนี้ แอพพลิเคชัน่ นีม้ เี ครือขายเชื1อมโยงใหเพื1อนๆ ของคุณเขามาใหกําลังใจคุณในทุกๆ วันไดอีกดวย OKRs ไมใชระบบอิสระ แตในทางตรงกันขาม OKRs กลับกลายเปน ระบบเครือขายที่เชื1อมโยงทั้งในแนวตั้ง แนวนอน แนวทแยง เพื1อเชื1อมโยง งานที่สําคัญที่สุดขององคกรเขาดวยกัน เมื1อพนักงานมุมกําหนดเปาหมาย ของตนเองใหสอดคลองกับเปาหมายขององคกร ผลกระทบจากการทํางาน ของพวกเขาก็จะชัดเจนขึ้น ซึ่งจะชวยกําจัดการทํางานที่ซํ้าซอนและงานที่ ไมจําเปนไมสําคัญออกไป ทั้งไมคและอัลเบิรต ลี พบวาในการที่พวกเขาจะ สรางมายฟตเนสพัลใหเปนแอพพลิเคชั่นดานฟตเนสและการดูแลสุขภาพ ชัน้ นําระดับโลกไดนนั้ การตัง้ เปาหมายทีส่ อดคลองไปในทิศทางเดียวกัน ถือ เปนสวนทีส่ าํ คัญอยางยิง่ ตอการติดตามความคืบหนาของงานแบบวันตอวัน ซึ่งจะสงผลตอไปยังการขับเคลื1อนองคกรใหเติบโตแบวกาวกระโดดตอไป ถาคุณคิดวาเรื1องทีจ่ ะเลาตอไปนี้ ฟงดูเหมือนการตัง้ เปาหมายทีส่ มบูรณ แบบของระบบ OKRs แสดงวาคุณคิดไมผิดหรอก ถึงแมวามันจะไมใช เรื1องงายๆ อยางที่คุณจะไดเห็นตอจากนี้ แตสําหรับไมคและอัลเบิรต การ ตัง้ เปาหมายถือเปนเรื1องธรรมดาสําหรับพวกเขาไปแลว ในเดือนกุมภาพันธ 2015 อันเดอรอารเมอรไดเขาซื้อบริษัทของพวกเขาดวยมูลคา 475 ลาน เหรียญ การควบรวมกิจการนี้ ไดมกี ารนําจุดแข็งของมายฟตเนสพัลทางดาน เทคโนโลยีมาใชกับแบรนดที่ยิ่งใหญของอุตสาหกรรมนี้ และตอนนั้นเองที่
135
พีน่ อ งตระกูลลีก็ ไดเขาสูว งการกีฬาอาชีพระดับโลก ซึง่ เปนพืน้ ที่ใหมสาํ หรับ ฟตเนสระบบดิจิทัล อยางที่ไมคไดบอกไว “เราตองการที่จะพาตนเองไปใน ทุกที่ที่มีโอกาส” ดวยโครงสรางธุรกิจใหม ไดนํามาซึ่งความทาทายใหมๆ ในการตั้ง เปาหมาย ทั้งไมคและอัลเบิรตตองการให OKRs เปนเหมือนเครื1องนําทาง ในเขาวงกตของความสัมพันธภายในองคกร มายฟตเนสพัลกําลังมุงไปสู การเติบโตอยางกาวกระโดด ดังนั้น วัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญของ ทีมงานจะตองเติบโตและสอดคลองไปดวยกัน
ไมค ลี : ตองขอบคุณสมารตโฟนที่ชวยใหเราสามารถตัดสินใจชวยให ผู ค นมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น เพราะเหมื อ นคุ ณ มี เ ครื1อ งมื อ ด า นสุ ข ภาพ อันทรงพลังทีต่ ดิ ตัวคุณไปตลอดเวลา โดยทีค่ ณ ุ จะมีขอ มูลเกีย่ วกับโภชนาการ ทั้งที่มาจากตัวคุณเองและขอมูลอันมหาศาลจากทั่วโลก นอกจากนี้ คุณ สามารถขอคําปรึกษาทางการแพทยไดตลอดเวลา ดวยคาใชจายที่ถูกมาก หรือแทบไมมีคาใชจายเลย มายฟสเนตพัลชวยเปดมุมมองใหมๆ ใหกบั ผู ใช ทีเ่ ราเรียกวา “รูแ จง เห็นจริง” ทีจ่ ะติดตัวผู ใชไปตลอดชีวติ โดยสวนตัวแลวผมเชื1อมาตัง้ แตตอน แรกแลววาวิธนี ี้ไดผลแน6ๆ ตอนทีผ่ มเริม่ ตนบันทึกขอมูลของสิง่ ทีผ่ มกินเขาไป ผมก็ ไดเรียนรูว ามายองเนสมีปริมาณ 90 แคลอรีต่ อ หนึง่ ชอนโตะ ในขณะที่ มัสตารดมีเพียง 5 แคลอรี่ ตั้งแตนั้นเปนตนมาผมไมแตะมายองเนสอีกเลย นีอ่ าจจะเปนเพียงการเปลีย่ นแปลงเล็กนอยเทานัน้ แตคณ ุ จะพบวามันคอยๆ เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นตลอด กอนที่จะมากอตั้งมายฟสเนตพัล ผมเคยทํางานบริษัทอื1นมาหลาย แหง ซึ่งทุกองคกรไมเคยใชระบบการตั้งเปาหมายกันมากอนเลย จะมีก็แต การวางแผนการเงินประจําป เปาหมายเรื1องรายได และกลยุทธแบบกวางๆ แตไมมีอะไรที่ดูเปนระบบหรือมีความตอเนื1องเลย ดวยเหตุนี้ จึงไมเปนที่
136
น6าแปลกใจเลยวาองคกรเหลานั้นก็จะมีสิ่งหนึ่งที่เหมือนๆ กันคือ เปาหมาย ในการทํางานไมสอดคลองกัน ผมไมรูเลยวาทีมอื1นเขาทํางานอะไรกัน หรือ เราจะทํางานรวมกันอยางไรเพื1อใหบรรลุเปาหมายรวมกันได เราพยายามที่ จะมีการประชุมใหมากขึน้ ยิง่ ทําใหเสียเวลามากขึน้ โดยไมไดทาํ ใหอะไรดีขนึ้ มาเลย ลองคิดดูวาถาเราลองเอาคนสองคนมาอยูในเรือลําเดียวกัน โดยที่ คนหนึง่ พยายามพายไปทางทิศตะวันออก ในขณะทีอ่ กี คนพายไปทิศตะวันตก แตคนละออกแรงพายกันอยางสุดกําลัง แตสุดทาย เราพบวาเรือไมได เคลื1อนที่ไปไหนเลย ในวันแรกๆ ของพวกเราที่มายฟตเนสพัล เรามักจะคุยกันสนุกๆ ภายในทีมวา เรามีเรื1องที่ตองทําเปนพันๆ เรื1อง จากนั้นเราก็จะเลือกเอา เฉพาะเรื1องที่สําคัญมาเพียงสามเรื1อง จะเห็นวามีอีกหลายเรื1องที่เราไมได ทํา แตเราก็รสู กึ วา มันก็โอเคนะ พวกเราตองทํางานกันภายใตขอ จํากัดเยอะ แยะมากมาย ไมวา จะเปนการออกแอพพลิเคชัน่ ทีท่ าํ งานบนแอนดรอยด บน แบล็คเบอรรี่ บนไอโฟน หรือบนไอแพด เราทํางานเพื1อเปาหมายเดียวใน แตละชวงเวลาจนกวาจะบรรลุเปาหมายนัน้ หลังจากนัน้ เราถึงจะไปทําหัวขอ อื1นตอตามรายการที่กําหนดไว เราแทบจะไมมีการทํางานที่ซํ้าซอนกันเลย กระบวนการทํางานของเราไมมีอะไรซับซอน มีแตความชัดเจนและ สามารถวัดผลได ความสอดคลองกันจะเกิดขึ้นไดงาย ถาคุณไดวางกลยุทธ ของบริษัทดวยตัวคุณเอง และมีอีกคนหนึ่งดูแลเรื1องผลิตภัณฑ การทําให สอดคลองก็เปนเรื1องงายมาก ผมและพี่ชายไดประกาศเปาหมายหลักออก มาวา เราทํากําหนดการออกแอพลิเคชั่นที่ทํางานบนไอแพดได ในวันที่ เทานัน้ และในทุกๆ วันเราจะสื1อสารใหทกุ คนไดรบั รูถ งึ ความคืบหนา องคกร เล็กๆ ของเราก็สามารถทําไดดวยขั้นตอนที่ไมไดยุงยากอะไร อยางไรก็ตาม ผมก็ยังอยากจะนําเอาระบบ OKRs มาใชตั้งแตเนิ่นๆ คือเรานําระบบนี้มา ใชกนั กอนทีเ่ ราจะไดรบั เงินทุนสนับสนุนดวยซํา้ ไป เราไดเตรียมความพรอม สําหรับการตัดสินใจรองรับโอกาสดีๆ ที่จะเขามาหาเรา
137
เมื1อมายฟตเนสพัลพัฒนาขึน้ และสามารถใชงานไดทงั้ บนระบบปฏิบตั ิ การของไอโฟนและบนแอนดรอยด การเติบโตของเราก็พุงทะลุชารตขึ้นไป เลย ลองคิดดูวา วันหนึง่ พอเราตื1นขึน้ มาและพบวามีผู ใชงานทีล่ งทะเบียนพุง ขึ้นไปถึง 35 ลานราย การเติบโตขึ้นอยางรวดเร็วแบบนี้คงจะยากเกินกวาที่ เราจะมามัวแตทําอะไรทีละอยางในแตละชวงเวลาไดอีกตอไป และแลวผม ก็เจอสถานการณของการทํางานที่ไมสอดคลองกัน คุณลองคิดดูวาถาคุณมีลูกนองเกงๆ สองคน คุณตองการใหลูกนอง แตละคนทํางานที่สําคัญๆ ใหคุณ และทั้งสองคนตางก็อยากจะทํางานใน สวนทีเ่ ขารับผิดชอบเพื1อใหงานใหสาํ เร็จตามแนวทางของตนเอง และตอมา อีกไมนานทัง้ สองคนก็เริม่ ทีจ่ ะทํางานไปคนละทิศคนละทางไมสอดคลองกัน และกวาคุณจะรูวาทั้งสองคนนี้ทํางานไปคนละทางและแตกตางกันอยาง สิน้ เชิง มันคงจะสายเกินไปทีจ่ ะไปบังคับใหเขากลับมาเดินทางเดียวกันหรือ ปรับจูนเขาหากัน เปรียบเสมือนกับการตอกตะปูทบี่ ดิ เบีย้ วตัง้ แตครัง้ แรก แม จะมีคอ นทีด่ แี คไหน ก็ทาํ ไดแคตอกตะปูตวั นัน้ ใหบดิ เบีย้ วออกไปดานขางอยูด ี
ผูรวมกอตั้งมายฟตเนสพัล, ไมคและอัลเบิรต ลี, ป 2012
138
แมวาอัลเบิรต และผมตางรูว า เราตองมีการตั้งเปาหมายที่เปนระบบ มากกวานี้ แตเราก็ ไมรูวาจะตองทําอยางไร จนในป 2013 ภายหลังจากที่ ไคลเนอร เพอรคินส ไดตัดสินใจเขามาลงทุนกับบริษัทของเรา ตอนนั้นเอง ที่ จอหน ดัวร ไดแนะนําพวกเราใหรูจักกับ OKRs ผานการนําเสนอโดย ยกตัวอยางทีมอเมริกันฟุตบอลของเขา ซึ่งไดสรางความตื1นตาตื1นใจใหกับ ผมอยางมาก ผมชอบความเรียบงายในการกําหนดวัตถุประสงคที่สําคัญ มีความทาทาย รวมถึงแนวทางที่ใช ในการถายทอดไปสูการปฏิบัติทั่วทั้ง องคกร และผมก็คิดเองวา นี่แหละคือสิ่งที่จะชวยใหบริษัทของเราสามารถ ขับเคลื1อนไปในทางเดียวกันได
การหลอมรวมทีมเขาดวยกัน เมื1อเราเริม่ ตนนํา OKRs มาใช มันกลับเปนเรื1องยากกวาทีค่ ดิ ไวเสียอีก เราไมคอ ยประทับใจเทาไหรนกั กับวิธคี ดิ ของเราที่ใช ในการสรางวัตถุประสงค ของบริษัทและกระจายเปาหมายลงไปสูการปฏิบัติของพนักงาน นอกจากนี้ เรายังมีปญหาสับสนวาอะไรคือระดับของความเหมาะสมระหวางแนวคิด เชิงกลยุทธ การลงรายละเอียดในการทํางาน และการสื1อสารแบบสั่งการ พอเราไดรบั เงินทุนสนับสนุนจากนักลงทุนมาแลว บริษทั ของเรามีการ ขยายตัว มีการรับทีมบริหารเขามาเพิม่ ในชวงนีแ้ ทนทีเ่ ราจะกําหนดเปาหมาย องคกรแลวใหผูบริหารแตละคนไปกําหนด OKRs ที่สอดคลองกับ OKRs ขององคกรมา แตเรากลับใชวิธีการกําหนด OKRs ใหกับผูบริหารแตละคน ไปเลยวาใครตองทําเรื1องอะไร เชน ถาผูจ ดั การฝายทรัพยากรบุคคลมีปญ หา กําหนดวัตถุประสงคของตนเองใหตอบโจทยเรื1องรายไดหรือผลิตภัณฑไมได ผูบริหารก็จะกําหนดใหเองเลย ซึ่งวิธีแบบนี้ทําใหวัตถุประสงคบางขอเล็ก หรือแคบเกินไป บางเรื1องก็กวางเกินไปไมชัดเจน เมื1อเปนเชนทําใหองคกร ของเรามีวตั ถุประสงคเยอะมาก เยอะเสียจนไมรวู า อะไรคือสิง่ สําคัญ ทีส่ ดุ สําหรับมายฟตเนสพัล
139
ในป 2013 ขณะทีพ่ วกเรามีจาํ นวนพนักงานเพิม่ ขึน้ จากสิบคนมาเปน สามสิบคน ผมก็คาดวาประสิทธิผลในการทํางานของเราน6าจะเพิ่มขึ้นไดถึง 200% แตในความเปนจริงแลวผมประเมินเรื1องนี้ตํ่าไปจริงๆ เพราะเวลา วิศวกรเขามาใหม เขาไมสามารถทํางานไดทันที ตองใชเวลาเรียนรูและฝก อบรมกอน นอกจากนี้ การทีเ่ รามีวศิ วกรหลายๆ คนทํางานในโครงการเดียวกัน อาจจะมีปญหาการเรื1องการทํางานที่ขัดกันหรือไมสอดคลองกัน เราจําเปน ตองใชเวลาในการสรางระบบการบริหารจัดการขึ้นมารองรับปญหาเหลานี้ กอน ดังนั้น ในชวงเวลาที่บริษัทกําลังเปลี่ยนผานแบบนี้ อาจจะสงผลทําให ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานลดลงได เมื1อคุณไดลงไปจัดการเรื1องนี้ การปรับแตงใหสอดคลองกัน (Alignment) จะชวยใหผูคนไดเขาใจวาคุณตองการใหพวกเขาทําอะไร ผูคนสวนใหญจะ มีแรงจูงใจที่มากขึ้นในการยกระดับ OKRs สูระดับสูงสุด หากวาพวกเขารู วาระดับที่สูงขึ้นนั้นอยูที่ไหน ในขณะที่ทีมของเราใหญขึ้นและมีหลายระดับ มากขึน้ เรากลับพบประเด็นใหมขนึ้ มา คือเรามีผจู ดั การสามคนทีก่ าํ ลังทํางาน เดียวกัน โดยทีผ่ จู ดั การคนแรกกําลังพัฒนาผลิตภัณฑรนุ พรีเมียมเพื1อใหเปน แอพพลิเคชั่นรุนที่สามารถเก็บคาสมาชิกได ผูจัดการคนที่สองกําลังพัฒนา แพลตฟอรมของแอพพลิเคชัน่ เพื1อชวยใหอปุ กรณอื1นๆ เชน ฟตบิตสามารถ เชื1อมตอกับแอพของเรา และสามารถบันทึกขอมูลหรือใชงานบนอุปกรณ นัน้ ได สวนผูจ ดั การคนทีส่ ามกําลังพัฒนาเรื1องประสบการณของผู ใช ในการ เขามาใชงานระบบหลักของเรา ซึง่ จะเห็นวา OKRs รายบุคคลของผูจ ดั การ ทั้งสามคนนี้ เปาหมายคือตองการทําใหแอพพลิเคชั่นของเราพัฒนาไปสู ความสําเร็จเหมือนกัน ซึ่งดูแลวก็น6าจะเปนเรื1องที่ดีนะ แตปญ หาอยูท ผี่ จู ดั การทุกคนจําเปนตองใชวศิ วกรทีมเดียวกันนีแ่ หละ ทีมวิศวกรไมรูวาจะตองไปโฟกัสชวยผูจัดการคนไหนกอน ไมรูวา OKRs ขอไหนสําคัญกวากัน และที่สําคัญทีมวิศวกรเองก็มี OKRs ของตนเองที่ ตองดูแลระบบโครงสรางพื้นฐานของระบบอีกดวย เราเชื1อวาทีมวิศวกรคิด
140
วาพวกเขาทําไดทกุ อยาง แตนคี่ อื ความผิดพลาดอยางมหันต เพราะพวกเขา สับสนวา เขาจะตองทําอะไรกันแน6 ซึ่งเวลามีอะไรเปลี่ยนแปลงก็ ไมมีใคร แจงใหทราบ (บางครัง้ มันเลวรายถึงขัน้ ทีผ่ จู ดั การผลิตภัณฑ โวยวายเสียงดัง ก็เคยเกิดขึน้ มาแลว) การทีท่ มี วิศวกรตองมีการปรับเปลีย่ นโครงการสําหรับ การทํางานในแตละสัปดาห จะทําใหประสิทธิภาพในการทํางานลดลงอยาง ชัดเจน บางครั้งพอมีงานดวนหรืองานแทรกเขามา ก็หยุดงานที่กําลังทําไป กอน พอทํางานดวนงานแทรกเสร็จแลว กลับมาเพื1อทํางานที่คางๆ อยูตอ ก็เริม่ งงๆ กับตนเองเหมือนกันวาทําไปถึงไหนแลว และจะทําอะไรตอ ในขณะ ทีง่ านพัฒนาแอพพลิเคชัน่ ทีเ่ ปนรุน พรีเมีย่ มซึง่ ถือเปนเรื1องทีส่ าํ คัญตอรายได ของบริษัท กลับไมมีความคืบหนาและไมมีวี่แวววาจะเสร็จเมื1อไหร ผมอึดอัดใจกับเรื1องนีม้ ากๆ เลย เราลงทุนจางคนเกงๆ เขามาทํางาน หมดเงินไปเยอะมาก แตกลับไมชว ยใหเราทําอะไรเร็วขึน้ เลย และแลวเรื1องที่ สําคัญทีส่ ดุ ทีจ่ ะตองทําใหเกิดขึน้ คือ OKRs ดานการตลาดเรื1องการสงขอมูล ไปใหผู ใชงานผานระบบอีเมล ซึ่งเราไดกําหนดวัตถุประสงคไวอยางชัดเจน วา เราตองการใหผู ใชงานของเราเขาไปยังบล็อกของเราใหไดจํานวนตามที่ เราตัง้ ไว และหนึง่ ในผลลัพธทสี่ าํ คัญอยางมากคือ เพิม่ จํานวนผู ใชทกี่ ดลิงก จากอีเมลเขาสูร ะบบของเรา แตปญ หาคือในฝายการตลาดไมมีใครแจงเรื1อง นี้ใหทมี วิศวกรทราบเลย ซึง่ ทีมวิศวกรเองเขาก็มเี รื1องสําคัญของเขาทีต่ อ งทํา ในไตรมาสนัน้ ๆ อยูแ ลว ถาเรื1องนี้ ไมไดรบั ความรวมมือจากทีมวิศวกร OKRs ขอนี้คงจะสําเร็จไดยาก ที่แยที่สุดคือผมและอัลเบิรตไมรูเรื1องนี้มากอนเลย มารูอ กี ทีวา โครงการนีล้ า ชาก็ตอนมีการประชุมทบทวน OKRs ประจําไตรมาส เหตุการณนี้ทําใหเราตื1นจากภวังค ทําใหเราไดตระหนักวาความ สอดคลองกันระหวางทีมงานมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งยวด เรา กําหนด OKRs ไดดีแลว แตเราลมเหลวในการนําไปใชจริง จะเห็นไดวา เมื1อหน6วยงานใดหน6วยงานหนึ่งจําเปนตองการไดรับการสนับสนุนในเรื1องที่ สําคัญจากหน6วยงานอื1น แตหน6วยงานที่เกี่ยวของนั้นไมได ใหการสนับสนุน แสดงใหเห็นวาระบบความโปรงใสเรื1องการพึง่ พาอาศัยกันระหวางหน6วยงาน
141
ของเรายังไมชัดเจนพอ การประสานงาน การใหความรวมมือระหวางกันยัง ขาดๆ เกินๆ อยูมาก แมจะมีสัญญาณเตือนใหเห็นเรื1องวันกําหนดเสร็จอยู ตลอดเวลาก็ตาม และทั้งๆ ที่รูวาวัตถุประสงคของเราจะมีโอกาสไมบรรลุ เปาหมาย แตทีมงานของเราก็เก็บตัวเงียบไมมีใครออกมายุงกับใคร ไมมี ใครออกมาโวยวายอะไร ตางคนตางเดิน ในปตอมา เราไดพยายามแกไขปญหานี้ดวยการประชุมทีมผูบริหาร รวมกันเปนระยะๆ โดยในแตละไตรมาส หัวหนาแผนกของเราจะนําเสนอ เปาหมายและเรื1องที่จะขอความชวยเหลือจากหน6วยงานอื1น เรายังไมเลิก ประชุมจนกวาทุกคนจะไดรับคําตอบที่ตองการครบถวนแลว เชน เราจะ สอบถามวา ตกลงทุกคนไดคาํ ตอบจากสิง่ ทีต่ อ งการครบถวนแลวใชไหม ทุก คนเขาใจและเห็นดวยกับเรื1องนั้นเรื1องนี้แลวใชไหม งานนี้เกินขีดจํากัดของ ทีมไปหรือเปลา และถาเกินกําลัง เราจะทําใหเปาหมายของพวกเขาเปนจริง มากขึ้นไดอยางไร การปรับแตงใหสอดคลองกันไมไดหมายถึงการทํางานซํ้าซอนกัน ทีม่ ายฟตเนสพัลทุกๆ OKRs จะมีเจาภาพเพียงคนเดียว และมีทมี ทีส่ นับสนุน ในเรื1องนัน้ ๆ ผมมองวาการมีเจาภาพรวมในเปาหมายเดียวกัน จะทําใหความ รูสึกเปนเจาของและความรูสึกรับผิดชอบในเรื1องนั้นลดลง และถา OKRs รวมขอนั้นลมเหลว ผมก็ ไมตองการใหมีคนสองคนมานั่งโทษกันไปมา ดัง นั้น แมวัตถุประสงคขอนั้นจะเกี่ยวของกับทีมงานกี่ทีมก็ตาม แตผลลัพธที่ สําคัญของแตละหน6วยงานตองแยกออกจากกันอยางชัดเจน ในแตละครั้งที่เราเดินตามกระบวนการของ OKRs เราก็จะคอยๆ ดี ขึน้ ทีละเล็กทีละนอย วัตถุประสงคของเราจะชัดเจนและแมนยําขึน้ ผลลัพธ ที่สําคัญของเราสามารถวัดไดมากขึ้น อัตราความสําเร็จของเราก็เพิ่มสูงขึ้น ดวย เราใชเวลาไปสองหรือสามไตรมาสเพื1อทําใหเราเขาใจเรื1องนีม้ ากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะกับคุณสมบัติของผลิตภัณฑที่จะนําไปสูวัตถุประสงคที่กวางขึ้น มันไมใชเรื1องงายเลยที่จะคาดการณทิศทางของตลาดสําหรับแนวคิดใหมๆ
142
เราอาจจะบรรลุเปาหมายของเราอยางบาคลัง่ หรืออาจจะพลาดอยางรุนแรง ก็ ได ดังนัน้ เราจึงตองมีการปรับเปลีย่ นใหดขี นึ้ เราเริม่ เปลีย่ นแปลงจากเดิม เคยกําหนดเรื1องรายไดหรือจํานวนผู ใชงานทีเ่ พิม่ ขึน้ มาเปนกําหนดวันสิน้ สุด ของโครงการนั้นๆ ลงไปเลย ตัวอยางเชน การเปดตัวแอพพลิเคชั่นระดับพรีเมี่ยมที่ชื1อวา “MFP Premium” ตองเปดตัวไดภายในวันที่ 5 มกราคม 2015 ภายหลังที่ไดมีการ เปดตัวไปแลว เราไดรบั ขอมูลทีแ่ ทจริงบางสวนกลับมา ทําใหเรามัน่ ใจมากขึน้ วาเราสามารถประเมินผลกระทบและศักยภาพของกลุมเปาหมายไดอยางมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการกําหนดเปาหมายของ OKRs รอบตอ ไป ก็จะมีความทาทายและใกลเคียงกับความเปนจริงมากยิ่งขึ้น เรามองเห็นวาทีมงานของเราบางสวนยังไมกลาตัดสินใจเลือกผลลัพธ ทีส่ าํ คัญแบบยากๆ หรือทาทาย เชน บางคนกําหนดผลลัพธทสี่ าํ คัญเปนเรื1อง การสงอีเมลไปทีน่ ี่ หรือการสงขอความแจงเตือนไปทีน่ นั่ ตองบอกเลยวาโดย หลักการแลว ถาวัตถุประสงคยิ่งทาทาย คนจะยิ่งอยากทุมเททํางานมากยิ่ง ขึน้ แตในบริษทั ของเราคนทํางานกลับกําหนด OKRs ของตนเองแบบอนุรกั ษ นิยม ซึ่งเปนสิ่งที่เกิดขึ้นโดยที่เราไมรูตัวมากอน แตเมื1อเรารูแลวเราจึงได ออกแบบระบบการกําหนดเปาหมายใหเหมาะสมกับบริบทกับองคกรของ เรา โดยการเพิ่มความทาทายขึ้นอยางเหมาะสม โดยเราไดบอกทีมงานวา พวกคุณไมตองกังวลกับยอดผู ใชจริงในแตละเดือนวาจะมีผลตอเปาหมาย อยางไร ขอแคใหพวกคุณทําทุกอยางใหเต็มทีส่ ดุ ความสามารถเทาทีจ่ ะทําได
การพึ่งพาอาศัยกันโดยไมรูขอมูลซึ่งกันและกัน จาก ริต ลารเกอร การรวมงานกับอันเดอรอารเมอร หมายถึง การทีต่ อ งปรับตัวไปสูก าร เปนบริษทั ทีม่ กี ารตัง้ เปาหมายทีแ่ ตกตางกันอยางสิน้ เชิง ในตอนนัน้ ผมตอง ปรับตัวใหเขากับเจานายและปรับตัวใหเขากับการทํางานในแผนกทีเ่ พิง่ ตัง้ ขึน้
143
ใหมชื1อวาแผนก UA Connected Fitness - North America หนาที่ของ แผนกเราคือ การนําเอาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทีเ่ กิดขึน้ ใหมมาปรับใชกบั การออก กําลังกายและผลลัพธดา นสุขภาพ ผมตองทํางานรวมกับแอพพลิเคชัน่ ถึงสาม แอพ ซึง่ แตละแอพก็มวี ฒ ั นธรรมและรูปแบบในการทํางานทีแ่ ตกตางกันดวย ดวยการเติบโตอยางกาวกระโดดครั้งนี้ การทํางานใหสอดคลองกัน ระหวางทีมงานก็ยิ่งซับซอนและมีความทาทายมากยิ่งขึ้น เราจะทําอยางไร ใหคนกวาสี่รอยคนเขาใจตรงกันวาเรากําลังพยายามจะทําอะไรใหสําเร็จได อยางไร เราจะชวยพวกเขาใหทํางานสอดคลองกับองคกรและหน6วยงาน อื1นๆ ไดอยางไร เราจะทําอยางไรใหทุกๆ คนมุงไปในทางเดียวกันได ในชวง แรกๆ ผมพบวามันเปนเรื1องยากที่จะทําได ผมคิดไมออกเลยวา อะเมซอน หรือแอปเปลเขาจัดการกันอยางไร แตเมื1อเรานําเอาระบบ OKRs มาใช ใน แผนกตางๆ แลวก็พบวามันไดสรางใหเกิดความแตกตางไดอยางมากเลยจริงๆ เพียงไมกี่สัปดาหหลังจากการซื้อกิจการ หัวหนาของผมก็ ไดเรียก ประชุมผูบ ริหารนอกสถานทีจ่ าํ นวนยีส่ บิ คน ซึง่ รวมถึงคนทํางานทีเ่ กีย่ วของกับ กลุม งานคอนเนกเตดฟตเนส (Connected Fitness)* เมื1ออันเดอรอารเมอร ไดเขามาบริหารครบรอบป หัวหนาแผนกทุกแผนกจะตองนําเสนอวาอะไร คือเปาหมายที่ตองการใหบรรลุในปนั้นๆ สําหรับทีมมายฟตเนสพัลของเรา เรื1องนี้ถือเปนเรื1องที่พวกเราคุนเคยอยูแลว และตอนนี้เราก็พรอมที่จะนํา เสนออยูแลว เมื1อเริม่ การประชุม ผมและอัลเบิรต ก็ตอ งประหลาดใจ เมื1อพบวาทีม อี-คอมเมิรซ ตองการใหเรามีสว นรวมในการทําใหผทู เี่ ขาเยีย่ มชมเว็บไซตผา น ทางแอพพลิเคชัน่ ของเรามีปฏิสมั พันธกบั เว็บเราเพิม่ มากขึน้ โดยทีเ่ มื1อผูเ ยีย่ ม ชมเขามาแลวจะตองมีการอาน มีการคลิก มีการคอมเมนต และใชเวลาอยู
* ภายหลังอันเดอรอารเมอรเขาซื้อกิจการฟตเนสพัลแลว ยังใหฟตเนสพัลบริหารงานตออยางอิสระ แตนํามาจัดกลุมรวมเขาอยูในแผนกคอนเนกเตดฟตเนสของอันเดอรอารเมอร
144
บนเว็บไซตของเรานานพอสมควร สวนทีมขอมูลก็คาดหวังใหเราสงขอมูล จํานวนมหาศาลให และทีมขายสื1อเองก็รอใหเรากําหนดราคาสําหรับรายได จากโฆษณาชิน้ ใหม ทัง้ สามทีมรูว า เขาตองการอะไรจากเรา แตเขากลับไมรวู า ทีมอื1นตองการการชวยเหลืออะไรจากพวกเขาบาง แตละหน6วยงานไมรูเลย วาเปาหมายของพวกเขาสอดคลองกับวัตถุประสงค ในการเติบโตของทีมงาน เราหรือไมอยางไร และยิง่ กวานัน้ เขาก็ยงั มองไมเห็นเปาหมายทีเ่ ปนภาพรวม ของทั้งบริษัทเชนกัน จะเห็นไดวามีการพึ่งพาอาศัยกันโดยที่ไมมีการรับรูซึ่ง กันและกันเลย นีถ่ อื เปนปญหาเกาๆ ทีเ่ ราเคยเจอกันมาแลวทีม่ ายฟตเนสพัล เพียงแตรอบนี้รุนแรงกวาปกติและไมใชเรื1องงายที่จะแกไดทั้งหมด ทั้งนี้เราตองใชเวลาถึง 18 เดือนในการปรับเปลี่ยนเพื1อใหเกิดความ สอดคลองกันในแผนกของเรา และมันจะเกิดขึน้ ไมไดถา เราไมมรี ะบบ OKRs สิง่ แรกทีเ่ ราตองทําคือ การประเมินดูวา ขอจํากัดในการพัฒนาซอฟตแวร ใหม ของเราคืออะไร หลังจากนั้นก็ตองกําหนดใหชัดเจนวาอะไรเปนสิ่งที่สําคัญ มากที่สุด ในการแชรเรื1องเปาหมาย OKRs ของแผนกคอนเนกเตดฟตเนส ผมสามารถอธิบายไดวา ทําไมเราตองจัดสรรเวลาให โครงการนี้ และเราควร จะทุมเทเวลาและทรัพยากรลงไปในเรื1องอะไรบางเพื1อใหเปาหมายเรื1องนี้ สอดคลองกับเปาหมายของบริษทั และสามารถอธิบายไดวา นีค่ อื กระบวนการ ทีเ่ ราใช ในการกําหนดวัตถุประสงคและผลลัพธทสี่ าํ คัญของเรา คุณสามารถ บอกใหผมรูไดเลย ถาคุณเห็นวามีอะไรที่ผิดปกติหรือขาดตกบกพรอง หรือ ถาคุณคิดวาเรากําลังทําในสิ่งที่ไมถูกตอง ก็บอกเรามาไดเลยไมตองเกรงใจ มันเปนความโปรงใสแบบทางเดียว และผมก็รูสึกกังวลเล็กนอย แต มันกลับสงผลดี ผูค นเริม่ ยอมรับถึงขอจํากัดของเรา และปรับความคาดหวัง ของพวกเขาใหสอดคลองกัน ในสวนของเรา เราก็จะทํางานใหสอดคลองกับ พวกเขา โดยการหาดูวามีโครงการไหนบางที่มีวัตถุประสงครวมกันระหวาง หน6วยงาน
145
เมื1ออัลเบิรต ไดมาดูแลทีมผลิตภัณฑแมปมายฟตเนส (MapMyFitness) ของเรา สิ่งแรกที่เขาทําคือการตรวจสอบแผนงาน หลังจากนั้นเขากลาววา “เราจําเปนที่จะตองตัดแผนงานออกไปครึ่งหนึ่งดีไหม เราตองตัดออกให เหลือเฉพาะสิ่งที่สําคัญจริงๆ เทานั้น” ถึงตอนนี้เราตองประเมินคุณสมบัติ ของผลิตภัณฑตามแนวทางของมายฟตเนส โดยการตอบคําถามทีว่ า “ถาเรา เอาแผนงานนีอ้ อกไปในไตรมาสนี้ มันจะเกิดผลกระทบอะไรขึน้ บาง เชน จะสง ผลกระทบตอประสบการณของผู ใชงานหรือไม” แมคําถามในลักษณะนี้จะ ไมไดทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางมากมาย แตก็ควรจะถามกันบอยๆ คําตอบไมควรเปนนามธรรม แตควรจะเปนเรื1องที่สามารถวัดผลกระทบได ชัดเจน ทั้งนี้เพื1อใหเรามีทางเลือกในการตัดสินใจ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นี่คือผลผลิตหนึ่งที่เราไดรับจากกระบวนการของระบบ OKRs การโฟกัสและการปรับแตงใหสอดคลองกันเปนสิง่ ทีต่ อ งมีคกู นั ในเดือน พฤษภาคม 2015 สามเดือนหลังจากที่อันเดอรอารเมอร ไดเขามาบริหาร กิจการ เราไดนาํ ผลิตภัณฑรนุ ทีร่ บั สมัครสมาชิกแบบพรีเมีย่ มออกวางตลาด ไดสําเร็จ ซึ่งมันจะเกิดขึ้นไมไดเลยจนกวาเราจะยอมรับวา เราทําทุกอยาง พรอมกันไมได เราตองเลือกทําเฉพาะสิ่งที่สําคัญมากที่สุดตอบริษัทเทานั้น และสุดทาย เมื1อมีความชัดเจนวาวัตถุประสงคหลักอันดับหนึ่งของเราคือ การนําผลิตภัณฑรุนพรีเมี่ยมออกสูตลาด ทุกคนก็จะรูวาเรื1องนี้คือเรื1องที่ สําคัญกวาเรื1องอื1นๆ ไปโดยปริยาย เรายังคงทํางานหนักอยางตอเนื1องหลังจากการรวมกิจการ แอพพลิเคชัน่ สองในสีแ่ อพของเรามีการนําไปใชงานพรอมๆ กันกับแผนทีท่ อี่ ยูภ ายในฟงกชนั่ การติดตามผลการวิ่งของพวกเขา เพราะกอนหนานี้พวกเขาลมเหลวกับ การนําเอาแผนทีล่ งไปใสไว ในแอพพลิเคชัน่ เนื1องจากมีผู ใหบริการหลายราย และแตละรายก็มีวิธีการติดตั้งแผนที่ที่แตกตางกัน ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอก เหนือจากการที่มีระบบแผนที่ที่ไมเสถียรแลวยังทําใหลูกคามีประสบการณ
146
ที่ไมน6าประทับใจอีกดวย ตองยกเครดิตใหทั้งสองทีมที่ไดกําหนดใหมีระบบ การเช็กอินเปนรายเดือน เพื1อหลีกเลี่ยงปญหาคลายๆ กันที่อาจจะเกิดขึ้น ในอนาคต หลังจากนั้นไมนาน เราก็ ไดมีการนําระบบ OKRs มาใชทั้งแผนก ถึงตอนนีพ้ วกเรายืนอยูในจุดเดียวกันมองเห็นทุกอยางเหมือนๆ กัน ทุกคนใน ทีมรูว า อะไรเปนสิง่ ทีส่ าํ คัญสูงสุดสําหรับแผนกของเราและทําใหพวกเขากลา ที่ปฏิเสธงานอื1นๆ ที่ไมเกี่ยวของได โดยไมตองกังวลอะไรอีกตอไป
มุงสูเปาหมายเดียวกัน ถึงแมวาเราจะผานชวงสตารต-อัพมาแลว แตเราก็ยังเปนคนตั้ง เปาหมายที่ทะเยอทะยานอยูอีก เรายังคงยึดมั่นในคานิยมของ OKRs นั่น คือความโปรงใสและความรับผิดชอบ เราเผยแพรวัตถุประสงคของเราบน ระบบ “Wiki” ซึง่ เปนสื1อออนไลนสาธารณะทีค่ นในองคกรสามารถเขาถึงได และเรามีการประชุมรายสัปดาหเพื1อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ในการประชุมนอกสถานที่เมื1อเร็วๆ นี้ ผมไดนําเสนอกระบวนการ OKRs ของเราใหกับกลุมผูนําในกลุมที่ใหญขึ้น และพวกเขาก็เพิ่งไดลอง ใชมัน หนึ่งในผูบริหารที่เขารวมไดบอกวา การประชุมนี้เปนการประชุมนอก สถานที่ที่ดีที่สุดเทาที่เคยมีมา มีการปลูกฝงให OKRs เปนระบบพื้นฐานใน การปฏิบัติงานสําหรับคอนเนกเตดฟตเนส ซึ่งผมคาดหวังวาจะมีการขยาย การนําระบบนี้ ไปใช ใหเกิดขึน้ ทัว่ องคกรของอันเดอรอารเมอร ยิง่ เปนองคกร ขนาดใหญ ยิ่งจําเปนตองใชระบบนี้สรางคุณคาใหยิ่งใหญตามไปดวย นอกเหนือจากการทําใหเปาหมายมีความสอดคลองกันภายในบริษัท ของเราแลว ความสอดคลองกันยังหมายถึงการรักษาเปาหมายใหสอดคลอง กับเปาหมายที่ใหญกวาดวย เชน เปาหมายของคอนเนกเตดฟตเนสตอง สอดคลองกับพันธกิจของอันเดอรอารเมอรที่ระบุวา “เราจะชวยใหนักกีฬา ทุกคนมีสมรรถนะที่สูงขึ้น” ดวย ในขณะเดียวกัน เรายังคงมีความเชื1อเดิม ของมายฟตเนสพัล นั่นคือ เมื1อไหรที่ลูกคาของเราไดบรรลุเปาหมายทาง
147
ดานสุขภาพและการออกกําลังกาย เราก็ถอื วาประสบความสําเร็จในฐานะ บริษทั แตในฐานะของทีมซึง่ เราอยูภ ายในอันเดอรอารเมอร ผมและอัลเบิรต ก็ยังมีคําถามที่อยากจะถามไปยังทีมอื1นๆ ดวยวา ดวยคุณสมบัติแบบนี้หรือ ความรวมมือกันแบบนี้ เราจะชวยใหลูกคาของกลุมเราบรรลุเปาหมายตาม ภารกิจที่กําหนดไวไดหรือไม เพราะในทายที่สุดแลว ลูกคาของเราตางตองทุมเทความพยายาม อยางหนักเพื1อเปลี่ยนแปลงชีวิตของพวกเขาใหดีขึ้น เชน สุภาพสตรีที่ สามารถลุกจากเกาอี้ ได โดยไมตองใชมือชวยเลยเปนครั้งแรกในรอบยี่สิบป จากความสําเร็จในระดับบริษัทนี้ สามารถขยายผลการนําไปสูการกําหนด OKRs ในระดับที่สูงขึ้นไปได เหมือนกับที่คุณจะเห็นใน OKRs ขางลางนี้ ซึ่งเพิ่งเกิดขึ้นเมื1อไมกี่ปที่ผานมานี่เอง วัตถุประสงค
ชวยเหลือผูคนทั่วโลกไดมากขึ้น
ผลลัพธที่สําคัญ
1. เพิ่มผู ใชงานใหมในป 2014 ให ได 27 ลานคน 2. มีจํานวนของผู ใชงานที่ลงทะเบียนทั้งหมด 80 ลานคน
จะเห็นไดวาทุกๆ การตัดสินใจทีเ่ กิดขึน้ จะตอบโจทยวสิ ยั ทัศนของเรา ชัดเจนขึน้ หากเราตองเลือกระหวางลูกคากับเปาหมายทางธุรกิจ เราจะเลือก ปรับเปาธุรกิจใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา และเมื1อไหรก็ตามที่ วัตถุประสงคของเราขัดกับคานิยม เราตองหยุดคิดพิจารณาเปนกรณีพิเศษ จนเรามัน่ ใจไดวา ทุกอยางมันสอดคลองกับเปาหมายสูงสุดขององคกร เราถึง ตัดสินใจทีจ่ ะเดินหนาตอไป รวมถึงการเชื1อมโยงไปยังผูค นทีเ่ ราดูแลอยู และ นั่นคือสิ่งที่ทําใหเราเปนเราจนถึงทุกวันนี้
148
9
การเชื1อมโยง : เรื1องราวของอินทูอิต แอตติคัส ไทเซน
ประธานเจาหนาที่ฝายสารสนเทศ
ต
ลอดเวลา 14 ปทตี่ งั้ บริษทั ขึน้ มา อินทูอติ (Intuit) ไดรบั การยกยองจาก นิตยสาร Fortune วาเปนบริษทั ที่ไดรบั การไดรบั ความนิยมและยอมรับ มากทีส่ ดุ ในโลก บริษทั เริม่ เปนทีร่ จู กั ในชวงทศวรรษ 1980 ดวยโปรแกรมควิกเคน (Quicken) ซึ่งโปรแกรมนี้จะนําเรื1องการบริหารการเงินสวนบุคคลมาอยูบน คอมพิวเตอรแบบตัง้ โตะ ซึง่ ตอมากลายเปนทีร่ จู กั ของคนทัว่ ๆ ไป หลังจากนัน้ ก็ออกโปรแกรมซอฟตแวรที่ใชสาํ หรับการวางแผนภาษีทชี่ ื1อวา เทอร โบแท็กซ (TurboTax) และโปรแกรมการจัดทําบัญชีสําเร็จรูปบนคอมพิวเตอรตั้งโตะ ที่ชื1อ ควิกบุคส (QuickBooks) ทางอินทูอิตไดพัฒนาโปรแกรมใหสามารถ ทํางานบนออนไลนได จะเห็นวาตลอดเวลาของประวัตศิ าสตรอนั ยาวนานและดวยมาตรฐาน ดานเทคโนโลยีนี้ ทําใหอนิ ทูอติ สามารถรอดพนจากภัยคุกคามดานการแขงขัน ไดหลายตอหลายครั้ง เพราะเขามีระบบการวางแผนที่กาวลํ้านําหนาคูแขง อยูหนึ่งกาวเสมอ และเมื1อเร็วๆ นี้บริษัทไดวางจําหนDายโปรแกรมควิกเคน และโปรแกรมควิกบุคสแบบออนไลนเวอรชั่นใหม (QuickBooks Online) ใหเปนแพลตฟอรมแบบเปด สงผลใหมีผู ใชงานเพิ่มขึ้นถึง 49% อยางที่ เบรนต ทิลล ซึง่ เปนนักวิเคราะหจาก UPS ไดกลาวไวกบั New York Times
149
วา “เมื1อไหรทอี่ นิ ทูอติ รูต วั วากําลังเดินทางผิด พวกเขาจะลุกขึน้ อยางรวดเร็ว และกลับสูเขามาสูเสนทางโดยทันที นั่นจึงเปนเหตุผลที่ทําใหบริษัทแหงนี้ ประสบความสําเร็จอยางตอเนื1องยาวนาน” คนเราจะไมสามารถเชื1อมตอกับสิ่งที่มองไมเห็นได เชนเดียวกัน เครือขายในการทํางานภายในองคกรจะเกิดขึ้นไมไดถาองคกรนั้นยังทํางาน แบบไซโล (แตละหนDวยงานทํางานแยกออกจากกันอยางอิสระ ตางคนตาง ทํางานของตนเอง) แตสําหรับ OKRs แลวถือเปนระบบที่เปดกวางและ สามารถมองเห็นทุกๆ สวนภายในองคกรไดงายและชัดเจน ไมวาจะเปน ระดับองคกรหรือระดับหนDวยงาน ดวยเหตุนี้จึงสงผลใหบริษัทที่นํา OKRs มาใชมีการทํางานที่ใกลชิดกันมากขึ้น
แอตติคัส ไทเซน CIO ของอินทูอิต บนเวทีโกลซัมมิต, ป 2017
150
องคกรที่ปรับตัวไดดีมักจะเปนองคกรที่มีระบบการทํางานภายใน เชื1อมโยงกันอยางเปดเผย วัฒนธรรมความโปรงใสของอินทูอิตไดรับการ ปลูกฝงโดย สกอตต คุก ผูรวมกอตั้ง และไดรับการพัฒนาใหเขมแข็งขึ้น โดย “โคช” บิลล แคมปเบลล ซึ่งมาทําหนาที่เปน CEO ของอินทูอิต และ ดํารงตําแหนDงประธานบริษัทอยางยาวนานดวย แอตติคัส ไทเซน ซึ่งเปน รองประธานอาวุโสและหัวหนาเจาหนาที่ดานสารสนเทศของอินทูอิต ได กลาววา “บิลลเปนหนึ่งในคนที่เปดกวางมากที่สุดเทาที่ผมเคยพบมา” และ เขายังไดกลาวเพิ่มเติมอีกวา “เขาเกงในการมองคนออก และก็จะลงทุน กับการพัฒนาคนที่มีศักยภาพเหลานั้นใหเติบโตขึ้นมา คุณสามารถรูไดเลย วาเขาคิดอะไรอยู และในขณะเดียวกัน เขาก็จะรูเชนกันวาคุณคิดอะไรอยู และพรอมอยูเคียงขางคุณเสมอ” มรดกของโคชบิลลยังคงอยูกับเราจนถึงทุกวันนี้ เมื1อไมกี่ปที่ผานมา แอตติคสั ไดนาํ OKRs มาใช ในหนDวยงานทีร่ ายงานโดยตรงกับเขา เพื1อชวย ใหแผนกไอทีเปนตัวหลักในการนําอินทูอติ เขาสูร ะบบคลาวด และในไตรมาส ถัดมาเขานําเอาเรื1องนี้ ไปถายทอดลงไปในระดับผูอ าํ นวยการ และในไตรมาส ตอมาเรื1องนีก้ ถ็ กู ถายทอดลงไปถึงพนักงานไอทีทงั้ หกรอยคน เขาเลือกทีจ่ ะไม ใชการบังคับสําหรับกระบวนการใหม เขาบอกวา “เราไมตอ งการใหทาํ งานกัน แบบระบบราชการ เราตองการใหมกี ารนําไปปฏิบตั อิ ยางเต็มใจ ผมตองการ พิสจู น ใหเห็นวาระบบ OKRs สามารถประสบความสําเร็จดวยตัวมันเองโดย ไมตองใชคําสั่งไดหรือไม และมันทําไดสําเร็จในที่สุด” ในแตละไตรมาส กลุมไอทีของอินทูอิตจะตองเจอกับวัตถุประสงค ที่มีมากถึง 2,500 เรื1อง ในขณะที่พวกเขาสรางความเขมแข็งใหกับการ ตั้งเปาหมายดวยขอมูลแบบอัตโนมัติและเรียลไทม รวมถึงมีการเช็ค-อิน เปนประจํา ผู ใชงานจะปรับ OKRs ครึ่งหนึ่งของพวกเขาใหสอดคลองกับ เปาหมายของระดับทีส่ งู กวาหรือกับแผนกของพวกเขา โดยรวมๆ แลว พวก เขามองเห็น OKRs ของผูจัดการมากกวาสี่พันครั้งในแตละไตรมาส หรือ พนักงานหนึง่ คนจะเขาไปดู OKRs ของผูจ ดั การเฉลีย่ 7 ครัง้ ตอคนในแตละ
151
ไตรมาส ซึ่งเปนสิ่งที่แสดงใหเห็นถึงความผูกพันของพนักงานที่ทํางานอยู หนางาน และภายหลังจากการปรับมุมมองใหมสาํ หรับ OKRs ผูท เี่ ปนเจาภาพ ของวัตถุประสงคแตละขอ สามารถมองเห็นถึงความเชื1อมโยงระหวางงาน ประจําวันของพวกเขาไดอยางชัดเจน รวมถึงเขาใจเรื1องลําดับความสําคัญ ของเพื1อนรวมงาน วัตถุประสงครายไตรมาสของทีมงาน และภารกิจทีส่ าํ คัญ ที่สุดของบริษัทอีกดวย เรื1องราวของอินทูอิตแสดงใหเห็นถึงประโยชนของการนํา OKRs มาทําเปนโครงการนํารอง กอนที่จะนําไปใชทั่วทั้งบริษัท ผู ใชเพียงไมกี่รอย คนอาจจะเหมาะสมสําหรับ OKRs ในการนํารองทดลองใช เพื1อขจัดปญหา ความยุงยากใดๆ กอนที่จะนําไปใช ในกลุมที่ใหญขึ้น ที่อินทูอิต แบรด สมิท ซึ่งเปน CEO ไดประกาศเปาหมายของตัวเขาเองในออฟฟศเพื1อใหทุกคน ไดเห็น และบอกวาการตั้งคาเปาหมายที่เชื1อมโยงกันเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง ที่จะทําใหพนักงานสามารถทํางานไดดีที่สุดในชีวิตของตนเอง
แอตติคสั ไทเซน : ผมทํางานที่อินทูอติ มา 11 ปในฝงของผลิตภัณฑ กอน ที่จะยายไปแผนกไอที จนถึงในป 2013 ผมก็ ไดรับแตงตั้งใหเปนประธาน เจาหนาทีฝ่ า ย CIO (Chief Information Officer) ผมยินดีกบั การรับตําแหนDง ในครั้งนี้ เพราะผมรักบริษัทของเรา และผมก็รูวาระบบไอทีมีความจําเปนที่ จะตองไดรบั การพัฒนาเพื1อชวยอินทูอติ มุง สูภ ารกิจใหม ซึง่ มันเปนชวงเวลา ที่ทั้งกดดันและนDาตื1นเตนไปพรอมๆ กัน องคกรกําลังมุงไปสูหลายๆ ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน จากซอฟตแวรเดสกทอ็ ปไปจนถึงซอฟตแวรบนระบบคลาวด จากแพลตฟอรมแบบปดไปยังแพลตฟอรมทีส่ ามารถเปดไปยังแอพของบุคคล ที่สามไดหลายพันรายการ และจากบริษัทที่ตั้งอยูในอเมริกาเหนือกลายเปน บริษัทระดับโลก เราไดเรียนรูที่จะกําหนดกลยุทธระยะยาวสูการเปนระบบ นิเวศการทํางานแบบบูรณาการ เรามีการเปลีย่ นแปลงอยางคอยเปนคอยไป จากองคกรทีร่ วมแบรนดตา งๆ อยาง เชน เทอร โบแท็กซ ควิกเคน ควิกบุก ส สูการเปนเฮาสแบรนดหรือองคกรที่มีแบรนดที่ชื1อวา “อินทูอิต”
152
การบริหารองคกรทามกลางพายุของกระแสการถูกแทรกแซงจาก เทคโนโลยีสมัยใหม (Disruption) แผนกไอทีตองอดทนรับมือกับความ หงุดหงิดภายในบริษทั บางสวนก็มาจากระบบปฏิบตั กิ ารทีม่ แี นวโนมจะมืดมน บริษทั ทีม่ อี ายุมากกวา 30 ปไดสะสมความซับซอนของเทคโนโลยีเอาไวเยอะ พอสมควร โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริษัทดานเทคโนโลยีอยางเรา แผนกไอที มักจะสับสนระหวางความตองการของลูกคาภายในคือหนDวยงานตางๆ กับ ความตองการของลูกคาภายนอกคือผู ใช เราตองเปนคนที่เชื1อมตอระหวาง เทคโนโลยีและผลลัพธทางธุรกิจซึ่งถือเปนเรื1องที่ยากมาก เราตองรักษา สมดุลของภารกิจในการทําใหระบบงานมีความสมบูรณ ในวันนี้ (อยางที่คน ของเราคาดหวัง) กับภารกิจของเราในการลงทุนสําหรับอนาคต ตัวอยางเชน อินทูอติ ตองมีระบบเรียกเก็บเงินทีแ่ ตกตางกัน 9 ระบบ เพื1อรองรับผลิตภัณฑตางๆ ของเรา และแตละระบบตางก็มีความทาทายที่ ไมเหมือนกัน เมื1อคุณตองเสียเวลาในการแกไขปญหาทีเ่ กิดขึน้ ทุกวัน จึงเปน เรื1องยากทีจ่ ะมีเวลาไปสรางเทคโนโลยีการเรียกเก็บเงินในเวอรชนั่ ตอๆ ไปได เราจะสงสัญญาณใหพนักงานของเราทราบไดอยางไรวาอะไรคือสิ่ง ที่สําคัญที่สุด และใหพวกเขายังคงทํางานกับทุกเรื1องอยางตอเนื1อง เราจะ มั่นใจไดอยางไรวาไดดูแลครอบคลุมทุกเรื1องที่เกี่ยวของกับพวกเขาแลว ใน องคกรที่มีการทํางานแบบไซโลดั้งเดิม กิจกรรมตางๆ ของแตละหนDวยงาน จะถูกปดกัน้ ไมใหหนDวยงานอื1นไดรูไดเห็น พนักงานจะตองใชความพยายาม อยางมากจึงจะมองเพื1อใหรูวาเกิดอะไรขึ้นกับหนDวยงานอื1นๆ ที่ไมใชหนDวย งานของพวกเขา แตพวกเขาจะไมรูเลยวาเรื1องนั้นเกิดขึ้นจากอะไรและไมมี เวลาไปติดตามความเปนไปของเรื1องนั้นๆ ตออีกเลย สําหรับทีอ่ นิ ทูอติ ของเรา การเปลีย่ นแปลงเพื1อกาวเขาสูก ารเปลีย่ นแปลง อยางพลิกโฉม เริ่มตนที่ แบรด สมิท ประธานกรรมการและ CEO ของ เรา ไดกําหนดใหมีระบบการตั้งเปาหมายทั่วทั้งองคกรขึ้น แบรดจริงจังและ ตัง้ ใจอยางมากกับเรื1องนี้ ในแตละเดือน ผูจ ดั การจะตองมาประชุมพรอมกับ
153
รายงานผลของตนเองใหทราบและปรึกษาหารือกันเกี่ยวกับเปาหมายของ แตละคน เราไดนําเอาระบบการประเมินแบบ 360 องศามาใชดวย โดยให ผูประเมินและผูถูกประเมินนําเอาขอมูลที่ตางฝายไดบันทึกเอาไวมานั่งพูด คุยกันเพื1อใหขอมูลซึ่งกันและกัน บริษัทของเรามีประวัติศาสตรทางวัฒนธรรมที่ยาวนานเกี่ยวกับการ เรียนรูและการทดลองนําไปใชจริง เราพยายามอยางมากที่จะรักษาองค ประกอบตางๆ ที่จะทําใหทํางานไดดีที่สุดและปรับเปลี่ยนใหเหมาะกับตัว เราเอง ผมตกลงที่จะรวมงานกับฝายทรัพยากรบุคคลในการทดลองนําเอา OKRs เขามาใช ในแผนก EBS (Enterprise Business Solutions) ซึ่ง หากมองยอนกลับไปในป 2014 ผมไดรูจักกับคําวา เปาหมายและผลลัพธ ที่สําคัญ (OKRs) ในขณะที่คนหาคําวา “การกําหนดเปาหมาย” จากกูเกิล และจากการศึกษาของผมก็พบวา OKRs นDาจะชวยใหเราสามารถเปลีย่ นวิธี การทํางาน รวมถึงวิธีการที่ทําใหเรารูตัวเราเองไดอีกดวย หนDวยงานไอทียุคใหมเปนมากกวาหนDวยงานที่มาคอยตรวจเช็ก รายการตางๆ เพื1อใหความชวยเหลือหรือเปลี่ยนแปลงคํารองขอตางๆ แต เปนหนDวยงานที่ตองมุงเนนการสรางคุณคาที่เพิ่มขึ้นใหกับธุรกิจดวย โดย เริ่มตั้งแตการจัดการระบบงานที่ซํ้าซอน การสรางฟงกชั่นการใชงานใหมๆ การคนหาแนวทางการทํางานทีจ่ ะรองรับอนาคต และเพื1อใหการทํางานของ ไอทีเปนไปอยางที่บริษัทตองการ ทีม EBS ของเราจําเปนที่จะตองมีการ เปลีย่ นแปลงระบบการทํางานใหมอยางสิน้ เชิง ผูน าํ ของเราตองใหพนักงาน ไดมีการเปลี่ยนแปลงโดยการยกเลิกงานประจําวันบางงานออกไป และเอา เวลานัน้ มามุง เนนการพัฒนาสิง่ ใหมๆ ทีจ่ ะสรางคุณคาใหกบั องคกรในระยะ ยาวมากกวา ทุกวันนี้ พนักงานทุกคนในแผนกของผม จะมีเปาหมายทางธุรกิจ 3-5 เรื1องในแตละไตรมาส รวมกับเปาหมายสวนบุคคลหนึ่งหรือสองเรื1อง ระบบการกําหนดเปาหมายมีความแมนยํามาก เพราะเปนระบบที่เรียบงาย
154
และมีความโปรงใส ผมรูวาถาตองการใหระบบ OKRs ของหนDวยงานเรา มีประสิทธิผลเราตองใหทุกคนทั้งบริษัทมองเห็นมัน ถึงแมวาคนบางคนใน หนDวยงานอื1นเห็นแลวไมได ใชประโยชนหรือเกีย่ วของอะไรกับเปาหมายของ เราก็ตาม ผมตองการใหทุกคนในบริษัทไดรับรูอยางถูกตองวาพวกเรากําลัง ทําอะไรกันอยู เราทํางานกันอยางไร และที่สําคัญใหเขารูวาเราทํางานนั้น ไปทําไม ถาทุกคนในองคกรเขาใจถึงสิ่งที่สําคัญและเขาใจขอจํากัดในการ ทํางานของคุณแลว แมคุณจะทํางานผิดพลาดไปบางพวกเขาก็จะเชื1อใจ ไว ใจคุณมากยิ่งขึ้น ในชวงแรก ผมพบวาการแยกเปาหมายสวนตัวของผมออกจาก OKRs ของหนDวยงานเปนเรื1องทีย่ ากและทาทายมากๆ เลย และในฐานะผูน าํ หนDวย งานไอที ผมคิดวาเปาหมายของหนDวยงานกับเปาหมายของผมมันคือเรื1อง เดียวกัน แตในความเปนจริงแลวมันทําแบบนี้ ไมได เพราะวัตถุประสงค ใน ระดับสูงสุดของหนDวยงานเราที่เปนรายไตรมาส หรือบางครั้งวัตถุประสงค ขอนั้นยาวไปถึง 18 เดือนก็มี ซึ่งมันไมคอยเปลี่ยนแปลงอะไรมากนัก แต สิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงบอยๆ คือเปาหมายในระดับรองๆ ลงมาจนถึงระดับบุคคล จะมีการปรับเปลีย่ นกันตลอดเวลาเพราะสถานการณ ในการทํางานแตละวัน มันเปลีย่ นแปลงไป ผูบ ริหารก็มหี นาทีต่ ดิ ตามความคืบหนาของทุกคน และมี คําถามหนึง่ เกิดขึน้ แลววาในแตละวันและแตละไตรมาส CIO ทําอะไร เพราะ วัตถุประสงครายไตรมาสไมไดเปลี่ยนแปลงอะไรเลย ผมไดยินคําถามนี้จึง ไดหยุดคิดทบทวน และในทุกวันนี้ตัวผมเองก็มีวัตถุประสงคสวนตัวที่ไมใช OKRs รายไตรมาสของหนDวยงานเหมือนกับคนอื1นๆ เหมือนกัน นอกเหนือจากสํานักงานใหญของของเราในเบยแอเรียแลว เรายัง ใหความสําคัญกับการนําระบบนี้ ไปใชทั่วโลกดวย EBS มีทีมที่เปนทางการ กระจายอยูในสีภ่ มู ภิ าคของสหรัฐฯ และในบังกาลอรซงึ่ เปนทีต่ งั้ ศูนยเทคโนโลยี ชัน้ สูงของอินเดียตอนใต รวมถึงมีทมี สนับสนุนในทุกๆ สํานักงานของอินทูอติ ทั่วโลก เมื1อผูคนที่ทํางานอยูนอกสํานักงานใหญ พวกเขาก็อาจจะสงสัยวาที่ สํานักงานใหญเขาทําอะไรกัน (และสํานักงานใหญกอ็ าจจะสงสัยเกีย่ วกับพวก
155
เขาดวย) แต OKRs ไดมาคลีค่ ลายความสงสัยนี้ใหหายไป ทําใหความสัมพันธ ของพวกเราเหนียวแนDนมากขึน้ และทุกคนรูส กึ เปนสวนหนึง่ ของทีมเดียวกัน เปาหมายสูงสุดเรื1องหนึ่งของทีม EBS คือ “การสรางความมีเหตุผล (Rationalize) ความทันสมัย (Modernize) และความปลอดภัยใหกับ เทคโนโลยีทงั้ หมด (Secure all Technology) ที่ใช ในการทํางานของอินทูอติ ” (กรุณาดูรายละเอียดของวัตถุประสงคหลักดานลาง) เมื1อเร็วๆ นี้ ไมวาจะ เปนชวงเวลาไหนที่ผมเดินทางไปพบทีมงานในเทกซัสหรือแอริโซนา ผมจะ ไดยินทีมงานพูดวา โครงการนี้ชวยทําใหพอรตโฟลิโอของเราสมเหตุสมผล มากขึ้น หรือเราจะทําระบบนี้ใหทันสมัยไดอยางไร และไมวาพวกเขาจะไป ทํางานอยูที่ไหน พวกเขาจะใชสามคํานี้เหมือนกัน รวมถึงเมื1อมีการแลก เปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการใหมๆ พวกเขาก็จะรองถามคนอื1นๆ วาสิ่งนี้จะสอดคลองกับ OKRs ที่มีอยูแลวของเราอยางไร ถาพบวามันไม สอดคลอง พวกเขาก็จะพากันสงสัญญาณใหทุกคนรู และถามตอวา ทําไม เราตองทําเรื1องนี้ วัตถุประสงคหลัก
เทคโนโลยีที่ ใช ในการทําธุรกิจของอินทูอิต มีความทันสมัย มีเหตุผล และความปลอดภัย
ผลลัพธที่สําคัญ
1. โอนยายชุด Oracle eBusiness Suite ทั้งหมดใหเปน R 12 และยกเลิก 11.5.9 ภายในไตรมาสนี้ 2. ออกแพลตฟอรมระบบการเรียกเก็บเงินแบบขายสงใหเสร็จ ภายในสิ้นปงบประมาณ 2016 3. เริ่มตนจัดตั้งตัวแทนจําหน>ายในหน>วยธุรกิจขนาดเล็กใหกับ ทีมขาย (Salesforce) 4. จัดทําแผนยกเลิกการใชงานสําหรับเทคโนโลยีเดิมทั้งหมด 5. จัดทํารางแนวทางการทําใหเรื1องกลยุทธ คน เทคโนโลยี แผนงาน และกฎกติกาในการทํางานมีความสอดคลองกัน
156
ขอมูลสดใหมจากระบบคลาวด อินทูอติ มองตนเองวาเปนบริษทั สตารต-อัพทีม่ อี ายุสามสิบสีป่ โดยเริม่ ตนจากคอมพิวเตอรสว นบุคคลในชวงป 1980 ซึง่ ประวัตศิ าสตรของเราเปน ภาพสะทอนใหเห็นถึงการดิสรัปชั่นทางเทคโนโลยีดวยแพลตฟอรมใหมๆ ที่ เขามาแทนรุนกอนหนานี้ ผลิตภัณฑแรกของเราทํางานบนระบบปฏิบัติการ ดอส (DOS) จากนั้นเราก็ยายมาทํางานบนระบบวินโดวและแมคอินทอส กอนที่จะเขาสูการทํางานบนอุปกรณมือถือ และลาสุดก็บนระบบคลาวด OKRs ถูกนําไปใชและสรางผลลัพธที่ยิ่งใหญไดมากขึ้นในยุคของ คลาวด ความสอดคลองกันในแนวนอนจะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ดวยการ กําหนดเปาหมายแบบเปดเผยและทําใหเปนสาธารณะ ทีมขอมูลและวิเคราะห ขอมูลสามารถมองเห็นตัง้ แตจดุ เริม่ ตนวาทีมระบบการเงินของเรามีแผนอะไร ในใจ ทุกอยางชัดเจนวาพวกเราทํางานแบบคูขนานกัน ทีมงานจะเชื1อมโยง กับวัตถุประสงคของพวกเขาแบบเรียลไทม (เวลาจริง) แทนที่จะเปนหลัง จากเกิดเหตุการณขึ้นแลว ซึ่งถือเปนการเปลี่ยนแปลงอยางมากจากวิธีการ ทํางานแบบเดิมๆ ของเราดวย บริษัทที่ทํางานดวยซอฟตแวรบนเดสกท็อป ผูนําจะมองไปที่ระบบ ปฏิบัติการผานมุมมองของการคาปลีกในยุคศตวรรษที่ 20 พวกเขาจะตรวจ สอบรายงานการขายและการหมุนเวียนของสินคาผานชองทางการขายตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากนัน้ พวกเขาก็จะทําการคาดการณวา ธุรกิจควรจะมุง ไปทางไหน การบริหารงานในรูปแบบนี้ไมแตกตางอะไรกับการขับรถโดยการมองทีก่ ระจก มองหลัง คือเห็นแตสิ่งที่เปนอดีตไปแลวเทานั้น แตในทางกลับกัน ธุรกิจที่ ทํางานบนระบบคลาวด ตองการที่จะรูวา ปจจุบัน เกิดอะไรขึ้น ยกตัวอยางเชน มีลูกคาจํานวนเทาไหรในสัปดาหนี้ มีการทดลอง ใชจํานวนเทาไหร อัตราการเปลี่ยนจากผูเยี่ยมชมมาเปนผูซื้อเปนเทาไหร จะรูขอมูลตั้งแตลูกคาใชกูเกิลในการหาสินคาออนไลน จากนั้นก็อานหนา เพจตางๆ แบบผานๆ ทดลองเขาไปดู และตัดสินใจซือ้ ทัง้ หมดใชเวลาเพียง
157
สิบนาทีหรือนอยกวา สําหรับผูน าํ ทีต่ อ งการรักษาอัตราความเร็วในการตัดสินใจ พวกเขาจะตองตรวจสอบกระบวนการเปลีย่ นจากคนทัว่ ไป มาเปนคนทีส่ นใจ และกลายมาเปนลูกคา หรือที่เรียกวา “กรวยการขาย (Funnel)” ของเขา เปนประจําทุกวัน ที่ EBS เราเนนการวิเคราะหแบบเรียลไทม ซึ่งถือวาเปน OKRs ระดับสูงสุด ที่แมแตฟเจอรเล็กๆ อยาง “การออกบิลขายสง” ก็ตอง ทําโดยคํานึงถึง OKRs นี้เปนหลัก วัตถุประสงคหลัก
พนักงานอินทูอิตทุกคนสามารถใชขอมูลที่ ใหมสด (Live Data) ในการตัดสินใจ
ผลลัพธที่สําคัญ
1. จัดสงขอมูลสําหรับการทํางานใหกับฝายทรัพยากรบุคคล และฝายขาย 2. ยายขอมูลไปยังคลังขอมูลองคกรอันใหมที่สรางขึ้น สําหรับการเขาถึงขอมูลแบบเรียลไทม 3. สรางทีมงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการพัฒนาเครื1องมือ ที่จะใชทําขอมูลเชิงรูปภาพและนําไปใชทั้งบริษัทเพื1อใช ในการขับเคลื1อนไปสูกลยุทธเดียวกัน 4. สรางสื1อการเรียนการสอนเพื1อชวยใหพนักงาน ในแผนกอื1นๆ สามารถใชเครื1องมือเปลี่ยนขอมูล เปนรูปภาพได
เครื1องมือสําหรับการสรางความรวมมือระดับโลก เมื1ออินทูอิตกลายเปนบริษัทระดับโลก ก็พบวาแมเราจะมีการทํางาน รวมกันแตกลับไมไดประสานงานกันเลย เมื1อเราทํางานจากสํานักงานใหญรว ม กับทีมงานของเราทีอ่ ยูท เี่ มืองบังกาลอร ประเทศอินเดีย ผานวิดโี อถายทอด สดที่มีการใชงานแบบจํากัด ดวยเวลาที่แตกตางกันถึงสิบสามชั่วโมง ผูรวม งานของเราในอินเดียกําลังนอนหลับในขณะทีพ่ วกเรากําลังทํางาน และก็เชน
158
เดียวกัน ในขณะทีเ่ รากําลังหลับ ก็เปนเวลาทํางานของพวกเขา สามปทผี่ าน มา เรามีทางออกทีด่ ขี นึ้ อินทูอติ ไดลงทุนเครื1องมือสําหรับการทํางานรุน ลาสุด แตเราก็ยงั ขาดระบบการพูดคุย การประสานงานกัน และการประชุมทางไกล ผานวิดีโอ คนของเราจําเปนตองแกไขปญหาเฉพาะหนาทําใหไดผลลัพธที่ ไมสมํ่าเสมอ สงผลใหประสิทธิภาพการทํางานโดยรวมของบริษัทเราลดลง เพื1อใหการแกไขปญหาเปนไปในแนวทางเดียวกันและเชื1อมโยงกัน มากขึน้ ผมไดยกระดับผลลัพธทสี่ าํ คัญทีเ่ กีย่ วกับเทคโนโลยีสาํ หรับคนทํางาน ใหเปน OKRs ในระดับสูง และภายในเวลาเพียง 6 เดือน เราก็ ไดกําหนด กลยุทธ ใหมขนึ้ มาโดยมุง เนนนําเอาเครื1องมือใหมๆ เขามาใช โดยทุกเครื1องมือ ที่นําเขามาใชจะถูกบูรณาการใหอยูในระบบเดียวกัน ไมวาจะเปนโปรแกรม สแลค (Slack) ที่ใชสําหรับการพูดคุย (Chat) และสงขอความ การใชกูเกิล ดอคส (Google Docs) สําหรับการใชไฟลเอกสารรวมกัน โปรแกรมบ็อกซ (Box) สําหรับการจัดการขอมูลบทความ และโปรแกรมบลูยนี ส (Blue Jeans) สําหรับการทํางานผานวิดีโอที่ใชเทคโนโลยียุคใหม จากการใชแพลตฟอรม ของ OKRs ในระบบเปดแบบนี้ ไดชวยใหทีมงานตางๆ ในสังกัดของ EBS ปรับแผนการทํางานใหสอดคลองกับวัตถุประสงค ใหมในระดับสูงไดงายขึ้น และทุกวันนีบ้ คุ ลากรของเราสามารถมุง เนนกับการทํางานไดอยางเต็มที่ แทนที่ จะไปเสียเวลากับการหาวาจะใชเครื1องมือตัวไหนดีเหมือนในอดีตที่ผานมา การตั้งเปาหมายถือเปนศิลปะอยางหนึ่งที่ไมสามารถเกิดขึ้นไดดวย การตัดสินใจเพียงไมกี่ครั้ง ในฐานะผูนําถาคุณตองการยกระดับผลลัพธที่ สําคัญบางเรื1องใหขึ้นมาเปนวัตถุประสงคหลักก็สามารถทําได โดยจะชวย ใหคุณตอบคําถามทุกคนไดอยางตรงไปตรงมาวา “ใช ตอนนี้ผมตองการ ใหพวกเรามุงเนนเรื1องนี้มากที่สุด” และเมื1อเรื1องนั้นลดระดับความสําคัญ ลง เราก็สามารถลดระดับจากวัตถุประสงคที่สําคัญ (Objective) ลงมาเปน แคผลลัพธที่สําคัญ (Key Results) เหมือนเดิมก็ ได นี่คือความยืดหยุนของ ระบบ OKRs ที่คุณสามารถปรับเปลี่ยนใหมีความเหมาะสมไดตลอดเวลา
159
วัตถุประสงคหลัก
กําหนดกลยุทธและแนวทางการนําสุดยอดเทคโนโลยี สําหรับคนทํางานมาใช ในตลอดกระบวนการ
ผลลัพธที่สําคัญ
1. นําโปรแกรมบ็อกซ มาใชนํารองกับผู ใชงาน 100 คน ภายในกลางไตรมาส 2. นําโปรแกรมบลูยีนสมาใชกับผู ใชงานภายใน สิ้นไตรมาส 3. โอนยายบัญชีผู ใชงานกูเกิลสวนบุคคล 50 บัญชีแรก ไปยังบัญชีของบริษัท ภายในสิ้นไตรมาส 4. ไดขอสรุปสัญญากับโปรแกรมสแลค ภายในสิ้นเดือน แรก และนํามาใชอยางสมบูรณภายในสิ้นไตรมาส
จากการศึกษา พบวาพนักงานที่ทํางานอยูหนางานจะทํางานไดดีขึ้น ถาพวกเขามองเห็นและรูวางานของพวกเขาสอดคลองกับเปาหมายโดย รวมของบริษัทอยางไร ซึ่งผมพบวามันเปนเรื1องจริงเพราะที่สํานักงานสาขา ของเรา ผมเคยไดยนิ พนักงานในบังกาลอรพดู วา “วัตถุประสงคของผมเปน ผลลัพธทสี่ าํ คัญของ OKRs ของผูจ ดั การของผม ซึง่ สงผลไปยังวัตถุประสงค ของหนDวยงาน EBS และยังสงผลตอไปถึงการเปลีย่ นไปใชระบบคลาวดของ บริษัทอีกดวย ถึงตอนนี้ทําใหผมเขาใจแลววา สิ่งที่ผมกําลังทําอยูที่อินเดีย มีผลตอเปาหมายของบริษัทอยางไร มันเปนความจริงที่นDาเหลือเชื1อมากที่ ระบบ OKRs ชวยใหหนDวยงานที่อยูไกลกันสามารถรวมทุกสิ่งอยางเขาดวย กันได ตองขอขอบคุณการตัง้ เปาหมายอยางเปนระบบและมองเห็นไดชดั เจน ทําใหเสนพรมแดนระหวางเราไดจางหายไป
160
การเชื1อมโยงกันในแนวราบ อินทูอติ มีโครงสรางองคกรแบบแบนราบมาตัง้ แตเริม่ ตน ถาจากระดับ CEO จนถึงระดับพนักงานที่ทํางานสวนหนาติดตอกับลูกคา (Frontline) มีระดับการบังคับบัญชาเพียงไมกี่ชั้น สกอตต คุก ผูกอตั้งของเราเชื1อวาคน ที่สมควรเปนผูชนะคือคนที่มีความคิดที่ดีที่สุด ไมใชคนที่มีตําแหนDงที่ใหญ ที่สุดหรือสูงที่สุด และเรายังคงยึดถือแนวคิดนี้มาจนถึงทุกวันนี้ ตั้งแตวัน ที่ผมเขามารวมงานในฐานะผูจัดการกลุม ผมก็รูสึกประทับใจกับวัฒนธรรม ของการทํางานรวมกันของที่นี่ ถึงแมวาในชวงกอนหนานี้ที่เรายังทํางานกัน แบบไซโล แตเราก็มกี ารเปดกวางภายในหนDวยงาน คุณสามารถพูดไดอยาง อิสระกับผูจ ดั การหรือผูบ ริหารทีส่ งู กวาผูจ ดั การของคุณก็ ได พวกเขายินดีรบั ฟงคุณดวยความจริงใจดวย ระบบ OKRs ไดชวยใหมีการเปดกวางในแนวนอนระหวางทีมงาน และระหวางหนDวยงาน ในชวงแรกๆ ก็ยงั คงมีการติดขัดไมคลองตัวบาง ทุก คนในแผนกไอทีอยากจะทํางานใหสอดคลองกันและอยากมีสว นรวมกับการ ทํางานของผูจ ดั การของเขาอยูแ ลว รวมถึงพวกเขาก็อยากจะใหงานทีเ่ ขาทํา สอดคลองกับเปาหมายของผมดวย มีอยูว นั หนึง่ ผมไดเช็กดูในระบบพบวามี ผลลัพธที่สําคัญเปนรอยเรื1องที่เชื1อมโยงมายังถึงวัตถุประสงคหลักของผม ผมบอกกับทุกคนวา “ผูจัดการของคุณยังเปนผูจัดการของคุณอยู คุณจะ ยังทํางานรวมกันตอไปจนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลง และถาคุณจําเปนตอง เชื1อมโยงไปยังคนอื1นคุณก็สามารถหยุดการเชื1อมโยงกับเราได” ทีมอี-คอมเมิรชขึ้นตรงกับรองประธานคนหนึ่ง และทีมเรียกเก็บเงิน ขึน้ ตรงกับรองประธานอีกคนหนึง่ แตรองประธานทัง้ สองคนก็รายงานตรงกับ ผม ถาทีมอี-คอมเมิรชกําลังจัดทําชองตะกราสินคา (Shopping Cart) สวน ทีมเรียกเก็บเงินตองเอารายละเอียดทีเ่ กีย่ วของมารวมดวย ถาเปนแนวทาง
161
การทํางานแบบเกา ทีมวิศวกรของทั้งสองทีมจะแยกกันทํางานอยางอิสระ และรายงานไปยังผูจัดการโปรแกรมตามลําดับ ซึ่งเปนเรื1องที่ยากมากที่ ผูบ ริหารระดับบนคนละสายงานจะทํางานรวมกัน ดังนัน้ ทุกคนจึงทํางานกัน โดยที่ไมมีการติดตอประสานงานกันโดยตรงเลย ในปจจุบันดวยระบบ OKRs ที่มีความโปรงใสในแนวนอน (การ ประสานงานระหวางทีมงาน) วิศวกรของเราจะมีการเชื1อมโยงกันอยาง เปนระบบ เนื1องจากตางฝายตางเชื1อมโยงเขาหากันดวยวัตถุประสงคของ อีกฝายหนึ่ง โดยมีการทบทวนการเชื1อมโยงกันแบบไตรมาสตอไตรมาส พวกเขาจะเนนยํ้าวาอะไรคือวัตถุประสงคของแผนก และในขณะเดียวกัน ก็หาแนวทางใหมทดี่ ที สี่ ดุ ในการประสานงานกับเพื1อนรวมงาน พวกเรากําลัง เดินออกหางจากการทําตามคําสัง่ ของคนทีม่ ตี าํ แหนDงสูงกวาไปสูก ารประกาศ อิสรภาพอยางแทจริง ผูนํา EBS ของเรามีบทบาทหนาที่ในการตอบคําถาม พรอมทั้งขอมูลประกอบเกี่ยวกับวัตถุประสงคหลักของหนDวยงาน ในขณะที่ กลุมคนทํางานตองมีการเชื1อมโยงขอมูลในการทํางานรวมกัน เพื1อผลักดัน ใหการทํางานเดินหนาไปดวยกัน
162
10
Superpower #3 : การติดตามเพื1อความรับผิดชอบ นอกจากพระเจาที่เราไววางใจแลว คนอื1นๆ จะเชื1อถือไดก็ตอเมื1อพวกเขามีขอมูลเทานั้น ดับเบิลยู. เอ็ดเวิรด เดมมิ่ง
ข
อดีอยางหนึง่ ของ OKRs ทีเ่ ราคาดไมถงึ คือ การทีเ่ ราสามารถติดตาม ความคืบหนา ของเปาหมายไดตลอดเวลา และสามารถ ทบทวน หรือ ปรับเปลี่ยน ไดตามสถานการณที่เกิดขึ้น ไมเหมือนกับระบบการตั้ง เปาหมายแบบเดิมที่ตั้งไวตอนตนปแลวไมมีการปรับเปลี่ยนเลยจนกวาจะ สิ้นป ระหวางปก็ทํางานอื1นจนลืมๆ แผนธุรกิจที่เคยวางกันไวเมื1อตอนตนป ระบบ OKRs เปนระบบที่มีชีวิต มีลมหายใจ วงจรชีวิตของระบบนี้จะแบง ออกเปน 3 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 : การติดตั้งระบบ ในขณะที่ซอฟตแวรที่ ใชงานทั่วไปก็มีกระบวนการในการนําไปใช ไมแตกตางจากกระบวนการ OKRs แตซอฟตแวรมนั ไมสามารถขยายขนาดขึน้ ไปได ติดตัง้ ไวแคไหนก็ไดแคนนั้ บริษทั ชัน้ นําแหงหนึง่ ทีอ่ ยูในกลุม ฟอรจนู 500 ทีเ่ พิง่ นําเอาระบบ OKRs เขาไปใชไดไมนาน พยายามทีจ่ ะเพิม่ ความเร็วรอบใน การตัง้ เปาหมายจากปละครัง้ เปนไตรมาสละครัง้ แตเปรียบเหมือนกับทีน่ กั วิง่ กําลังวิง่ ชนกําแพง ยิง่ วิง่ ก็ยงิ่ เจ็บ เสียแรงเยอะ แตระยะทางไมไดเพิม่ ขึน้ เลย
163
พนักงานกวา 82,000 คนตองบันทึกขอมูลวัตถุประสงคประจําปของตนเอง ลงไปในไฟลไมโครซอฟตเวิรด และยิ่งพอปรับมาเปน OKRs รายไตรมาส ทําใหพนักงานจะตองเพิ่มไฟลเวิรดขึ้นมาถึง 328,000 ไฟลตอป ซึ่งในทาง ทฤษฎี ถาเปดไฟลทงั้ หมดใหเปนสาธารณะ จะมีใครทีม่ คี วามอดทนไปคนหา การเชื1อมโยงหรือความสอดคลองกันของขอมูลตางๆ ได และถาคุณแบงปน เปาหมายของคุณไปแลวแตไมมีใครมองเห็นเลย ถามวาระบบนี้จะมีความ โปรงใสจริงๆ หรือ ในป 2014 เมื1อ บิลล เพนซ ไดเขามารวมงานกับ AOL ในตําแหนFง ประธานเจาหนาที่บริหารฝายเทคโนโลยี เปาหมายหลักระดับบริษัทและ ระดับสายงานไดถูกนําเสนออยูบนไฟลสเปรดชีต และกระจายเปาหมายลง ไปยังระดับตางๆ เพนซไดกลาววา “ถาคนที่ไมยังมีแมแตบานของตนเอง แลวจะใหเขาไปเชื1อมตอกับโลกภายนอกผานอินเทอรเน็ตบานไดยังไง” ซึง่ ก็คอื ถาเราไมมกี ารปรับปรุงสถานะของเปาหมายนัน้ บอยๆ เปาหมายก็จะ คอยๆ ผิดเพี้ยนไปจากที่ควรจะเปน เพราะผลงานที่เกิดขึ้นจริงในแตละวัน จะหางจากเปาหมายออกไปเรื1อยๆ และเมื1อถึงสิ้นไตรมาสหรือถาแยกวานัน้ คือเมื1อถึงสิ้นป ระบบ OKRs ของเราก็จะอยูในสภาพที่ไมแตกตางอะไรไป จากซอมบี้ คือมีแตรางกายแตไมมีชีวิต ไมตางอะไรกับ OKRs ที่มีแตระบบ แตไมมีความหมายอะไร พนักงานจะรูส กึ มีสว นรวมและมีความผูกพันกับเปาหมายในการทํางาน มากขึ้น ถาเรารูวางานที่เขาทํานั้นมีผลตอความสําเร็จขององคกรอยางไร ในแตละวัน ในแตละไตรมาส พวกเขาจะเห็นผลความสําเร็จทีเ่ กิดขึน้ ไดอยาง ชัดเจนและเปนรูปธรรม พนักงานจะรูไดเลยวาจะไดรางวัลพิเศษ เชน โบนัส หรือไม ถาไดจะไดเทาไหร ซึ่งโบนัสถือเปนเพียงแรงจูงใจภายนอกเทานั้น แตระบบ OKRs มีพลังมากกวานัน้ คือสามารถสรางแรงบันดาลใจจากคุณคา ที่อยูภายในตัวพนักงานไดอีกดวย
164
องคกรสวนใหญไดมกี ารนําซอฟตแวรการจัดการ OKRs ทีท่ าํ งานบน ระบบคลาวดมาใชงานเพื1อยกระดับการตั้งเปาหมายอยางเปนระบบใหดียิ่ง ขึ้น สําหรับแพลตฟอรมที่ดีที่สุดจะสามารถใชงานผานแอพพลิเคชั่นบนมือ ถือได สามารถอัพเดตไดทันที มีเครื1องมือการวิเคราะหและจัดทํารายงาน มีระบบการแจงเตือนแบบเวลาจริงแบบเรียลไทม และมีการเชื1อมตอแบบ บูรณาการเขาดวยกันกับซอฟตแวรที่มีอยู เชน โปรแกรมการขาย (Salesforce) โปรแกรมจิรา (JIRA) และโปรแกรมเซ็นเดสก (Zendesk) นอกจากนัน้ ผู ใชงานสามารถคนหาแผนผังดิจทิ ลั เพื1อสรางระบบการติดตาม แกไข และให คะแนน OKRs ดวยการกดเพียงสามหรือสีค่ รัง้ เทานัน้ ซึง่ แพลตฟอรมทัง้ หมด นี้ทําใหเห็นวาระบบ OKRs ชวยสรางคุณคาใหองคกรในหลายๆ เรื1อง เชน x
x x x
ชวยใหทุกคนมองเห็นเปาหมายที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ผู ใชงาน สามารถเขาถึง OKRs ทั้งของหัวหนา ลูกนอง และเปาหมายรวม ทั้งองคกรไดงายขึ้น ชวยสรางความผูกพันตอเปาหมาย เมื1อคุณรูวาคุณกําลังทําใน สิ่งที่ถูกตอง มันก็งายมากที่จะทําใหคุณรูสึกอยากทําสิ่งนั้นตอไป ชวยสงเสริมการสรางเครือขายภายในองคกร แพลตฟอรมที่ โปรงใสจะชวยใหแตละคนไดแบงปนสิ่งที่สนใจเหมือนกันได ชวยประหยัดเวลา เงิน และลดความยุง ยากลง ในการตัง้ เปาหมาย แบบเดิมๆ จะใชเวลาหลายชั่วโมงในการคนหาขอมูลจากเอกสาร จากบันทึกการประชุม อีเมล และสไลดเพาเวอรพอยต แตดว ยรูป แบบการจัดการ OKRs ขอมูลที่เกี่ยวของทั้งหมดจะถูกจัดเตรียม ไว ใหพรอมใชงานตลอดเวลา
165
ทิม อารมสตรอง CEO ของบริษัท AOL รูสึกวาเปาหมายของบริษัท ไมมีการเชื1อมโยงกันเลย และ บิลล เพนซ ประธานเจาหนาที่บริหารฝาย เทคโนโลยีก็พูดเชนเดียวกันวา “เปาหมายไมมีการเชื1อมโยงเขาดวยกันเลย ไมวาจะทั้งบนลงลางหรือลางขึ้นบน เปาหมายไมไดเชื1อมโยงกับงานที่พวก เขาทํากันทั้งปเลย” ในป 2016 อารมสตรองไดประกาศใหมีการนํา OKRs มาใช ซึง่ ผลทีต่ ามมา เพนซกลาววา เปนความโปรงใสทีช่ ดั เจนมากๆ เพราะ สามารถเชื1อมตอกันแบบเรียลไทมและถือวาการประสานงานเพื1อทํางานรวม กันนั้นเปนเรื1องที่สําคัญมาก
ผูรับผิดชอบในการดูแลระบบ OKRs เพื1อใหการใชงานระบบ OKRs เกิดประสิทธิภาพและถูกนําไปใช ทั่วทั้งองคกร ทุกคนในองคกรตองใชระบบนี้ทั้งหมดไมเวนแมแตผูบริหาร ระดับสูง แนFนอนวาในการนําเขามาใช ในชวงแรกๆ จะมีทั้งคนที่ตอตาน คนที่นํามาใชลาชา และคนที่ขอผัดวันประกันพรุงไปเรื1อยๆ ดังนั้น เพื1อให การนําเอาระบบนี้มาใช ใหไดผล จึงจําเปนตองมีใครสักคนหรือกลุมคนมา ทําหนาทีร่ บั ผิดชอบในการผลักดันใหระบบนีเ้ กิดขึน้ ในองคกรใหได และเปน เวลาหลายปที่ โจนาทาน โรเซนเบิรก ตําแหนFงรองประธานอาวุโสของกูเกิล ซึ่งเปนผูทําหนาที่ดูแลรับผิดชอบระบบ OKRs ของแผนกผลิตภัณฑของ กูเกิล เขาไดออกแถลงการณถึงผูจัดการผลิตภัณฑตามรายละเอียดดังนี้ (ขอไมเปดเผยรายชื1อคนทีแ่ นบมาพรอมกับประกาศนี้ เพราะอาจจะเปนการ ละเมิดสิทธิสวนบุคคลได)
166
จาก : โจนาทาน โรเซนเบิรก วัน : อังคารที่ 5 สิงหาคม 2010 เวลา 14.59 น. เรื1อง : ทามกลางโอกาสที่ไมสิ้นสุด, 13 ผูจัดการผลิตภัณฑที่ OKRs ไมไดตามเปา (ตามรายชื1อแนบ) ถึง ทีมผลิตภัณฑ อยางที่พวกคุณสวนใหญรูกันอยูแลววา ผมเชื1อมั่นเปนอยางมากวาการกําหนด OKRs รายไตรมาสที่ดี เปนสวนสําคัญในการสรางความสําเร็จใหกับกูเกิล และนี่คือเหตุผล ที่ผมตองสงบันทึกเตือนพวกคุณเปนประจํา เพื1อใหพวกคุณไดทําตามกรอบเวลาที่ กําหนดไว ผมขอใหผูจัดการทุกคนทําการทบทวนเพื1อใหแนFใจวาผลงาน OKRs ของ เราจะออกมาดี โดยสวนตัวแลวผมชอบรีดเคนผลงานจากพวกคุณเหมือนกับการที่ โจนาทานไดพลิกสถานการณจาก “แสงริบหรี่ที่เกือบจะมืดมิด” ในเดือนตุลาคม ป 2007 ใหกลับขึ้นมาเปน “แสงสวางที่โชติชวงชัชวาล” ของการเฉลิมฉลองความ สําเร็จได ในเดือนกรกฎาคม 2008 ตลอดเวลาที่ผานมาผมก็ยังใชแนวทางการให รางวัลและการลงโทษควบคูกันไปมาโดยตลอด จนกระทั่งเรากําลังจะเขาใกลความ สําเร็จ 100% แลวนะ ดังนั้น ผมจึงหยุดการสงบันทึกและดูวาจะเกิดอะไรขึ้น ในไตรมาสนี้ พวกคุณหลายๆ คนไมสามารถทําให OKRs เสร็จตามเวลาที่กําหนด และก็มีอีกหลายคนที่ไมไดมี การใหคะแนน OKRs ในไตรมาสที่สองของตนเอง และนี่ไมใชบันทึกที่ผมสงมาบอก เหตุการณเทานั้น แตผมไดสงรายชื1อของคนที่มีปญหาในเรื1องนี้แนบมาพรอมประกาศ ฉบับนี้ดวย (ยกเวนกับพนักงานของ AdMob หลายๆ คนที่ยังใหมกับแนวทางของ กูเกิลและทีมงานของคุณที่ทําไมไดตามกําหนดเวลาแตสามารถทําตอจนเสร็จในเดือน กรกฎาคม) กอนหนานี้เรามีโอกาสดีๆ เกิดขึ้นมากมาย (การเสิรชเกี่ยวกับโฆษณา หนาจอแสดง ผล ยูทูบ แอนดรอยด ซอฟตแวรสําหรับธุรกิจบีทูบี ซอฟตแวรบริหารองคกร กูเกิล คอมเมิรซ โครม ทีวี มือถือ สื1อทางสังคมออนไลน ฯลฯ) ถาพวกคุณไมสามารถ กําหนด OKRs ที่ทําใหคุณตื1นเตนกับการทํางานในทุกๆ วันได นั่นแสดงวามีบางอยาง ที่ผิดเกิดขึ้นแลว และถามันเกิดขึ้นจริง ขอใหคุณมาหาผม พรอมกับทํารายละเอียด ของ OKRs มาใหเสร็จเรียบรอย พรอมกับใหคะแนน OKRs ในไตรมาสที่แลวมา ดวย ขอใหงานของคุณออกมาใหดีและชวยโพสต OKRs ทั้งหมดลงในระบบ Moma (อินทราเน็ต) ดวย แมมันไมใชงานที่ยุงยากอะไรเลย แตมันเปนสิ่งที่สําคัญมาก สําหรับการจัดลําดับความสําคัญของพวกคุณในแตละไตรมาส และขอใหมั่นใจวา พวกเรากําลังทํางานไปดวยกัน โจนาทาน
167
ขั้นตอนที่ 2 : การติดตามผลงานในระหวางดําเนินงาน เหตุผลทีท่ าํ ใหฟต บิตไดรบั ความนิยมจากผูค นเปนอยางมาก ก็เพราะ ผู ใชสามารถดูความคืบหนาของเขาไดวาไปถึงไหนแลว ที่สําคัญแสดงให เห็นออกมาเปนรูปภาพ ทําใหเขาใจไดงายกวาที่จะเปนตัวเลข เปอรเซ็นต หรือรอยละ ผลการวิจัยพบวาการวัดผลความคืบหนาและความกาวหนา ของตนเองไดนั้น จะชวยสรางแรงจูงใจใหกับคนไดมากกวาเงินรางวัลและ การยอมรับจากผูอื1น ดาเนียล พิงก ผูเขียนหนังสือ Drive เห็นดวยกับเรื1อง นีว้ า “แรงจูงใจทีม่ พี ลังมากทีส่ ดุ คือ การทีค่ นเราทํางานใดงานหนึง่ ใหสาํ เร็จ ได และวันทีเ่ ขาทํางานนัน้ ไดสาํ เร็จ มันเปนวันทีเ่ ขามีความสุขและรูส กึ ภูมใิ จ ในตนเองมากที่สุด” รูปแบบการจัดการเปาหมายสวนใหญ จะใชการแสดงดวยภาพเพื1อ แสดงใหเห็นถึงความกาวหนาของวัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญ ทั้งนี้ OKRs ไมจําเปนตองมีการติดตามเปนรายวันเหมือนกับขั้นตอนของฟตบิต แตกต็ อ งมีการเขาไปดูเปนประจํา ปกติมกั จะเปนรายสัปดาห ทัง้ นีเ้ พื1อปองกัน ไมใหผลการทํางานเบีย่ งเบนออกไปจากเปาหมายทีก่ าํ หนดไว อยางที่ ปเตอร ดรักเกอร กลาวไววา “หากปราศจากแผนปฏิบัติการ ผูบริหารก็กลายเปน ผูตองหาของเหตุการณ และหากปราศจากการเขาไปติดตามเพื1อทบทวน แผนงานหากเกิดอะไรขึ้น ผูบริหารก็จะไมมีทางรูเลยวาจริงๆ แลวเกิดอะไร ขึ้น และบางอยางก็อาจเปนเพียงแคเสียงรบกวนเทานั้น” อยางทีก่ ลาวไว ในบทที่ 4 การเขียนเปาหมายทีเ่ ขาใจไดงายๆ จะเพิม่ โอกาสใหคุณบรรลุเปาหมายนั้นๆ ไดมากขึ้น และจะดียิ่งขึ้นไปอีก ถาคุณมี การเฝาติดตามความกาวหนาในขณะทีท่ าํ งานรวมกับเพื1อนรวมงาน ในกรณี ศึกษาของแคลิฟอรเนีย พบวาคนที่มีการบันทึกเปาหมายของตนเอง และ มีการสงรายงานความกาวหนาทุกสัปดาห ใหกับเพื1อนๆ มีโอกาสบรรลุเปา หมายมากกวาคนที่มีเปาหมายแตไมไดบอกให ใครรูสูงถึง 43%
168
ระบบ OKRs สามารถปรับตัวไดอยางเปนธรรมชาติ มันเปรียบเสมือน ราวกันตกที่ปองกันไมใหเราเดินออกนอกลูนอกทางและไมหลงทาง ถาเรา มีการติดตาม OKRs ของเรา ก็จะพบวาในแตละขั้นตอนของวงรอบการตั้ง เปาหมายประจําไตรมาส เราจะมีทางเลือกอยู 4 ทางเลือกดังนี้ x ดําเนินการตอ (Continue) ถาเปาหมายอยูในโซนสีเขียว (“ตอง ติดตามตอ”) แสดงวาดีอยูแลวไมตองไปทําอะไร x อัปเดต (Update) ถาเปาหมายอยูในโซนสีเหลือง (“ตองใหความ สนใจ”) แสดงวาผลผลลัพธที่สําคัญหรือวัตถุประสงคตองแกไข เพื1อใหเหมาะสมกับสถานการณภายในหรือภายนอกทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไป เราอาจจะตองทําอะไรที่แตกตางไปจากเดิมเพื1อใหบรรลุ เปาหมายได หรืออาจจะจําเปนตองทบทวนเรื1องกรอบของเวลา หรือเราอาจจะเก็บเรื1องอื1นๆ เอาไวกอนเพื1อนําทรัพยากรที่มีมา ใชกับเรื1องนี้ดีไหม x เริ่มตน (Start) หมายถึง สถานะการเปดตัว OKRs ใหมเพิ่งเกิด ขึ้นในชวงกลางไตรมาสนั้น (ถาจําเปนตองมี) x หยุด (Stop) หมายถึง เมื1อเปาหมายอยูในโซนสีแดง (“เสี่ยง”) หรือไมจาํ เปนตองมีเปาหมายเรื1องนัน้ อีกตอไป จะตองหาทางออก ใหกับเปาหมายขอนั้น หรือไมก็ตองยกเลิกเปาหมายเรื1องนั้นไป* ปกติแลวการแสดงผลแบบเรียลไทมจะทําไดเพียงสองเรื1องคือ แสดง ผลที่เกิดขึ้นเทียบกับเปาหมาย และจะแจงเตือนบอกใหเรารูวาผลนั้นตํ่า กวา เทากับ หรือดีกวาเปาหมาย แตใน OKRs มันทําได มากกวา นั้น คือ สามารถบอกใหเราหยุดทําสิง่ นัน้ เพื1อปองกันการเดินไปผิดทางไดดว ย อยางที่
* โดยทั่วไป สิ่งนี้จะนําไปใชกับผลลัพธที่สําคัญหรือแนวทางการทํางานบางอยาง มากกวาที่จะนําไป ใชกับวัตถุประสงคหลัก เพราะระยะเวลาเพียง 90 วันไมคอยมีผลถึงขั้นตองแกไขเปลี่ยนแปลงหรือ ยกเลิกวัตถุประสงคหลัก
169
สตีเฟน โควี่ ไดบอกไววา “ถาบันไดไมไดเอาไปพาดกับกําแพงที่ใชแลว ทุกๆ กาวที่เราขึ้นไป มันจะพาเราไปยังที่ที่ไมถูกตองเร็วขึ้น” คุณจะไมเจอกับการ ตกใจวาทําไมไมไดตามเปา ไมไดตามแผน หรือลาชากวาแผน ถาคุณใชระบบ การติดตามแบบ OKRs เพราะระบบนี้จะชวยใหคุณไดรับฟดแบคทั้งที่เปน ขาวดีและขาวรายอยางตอเนื1อง ผูค นสามารถเรียนรูจ ากความลมเหลวและ กาวไปตอได ไมแนAนะบางครัง้ ความลมเหลวอาจจะเปนจุดกําเนิดของตนกลา แหงความสําเร็จใหมก็ ได เมื1อรูปแบบการรับสงขอความในโรงเรียนของแอพพลิเคชั่นรีมายด ไดกลายเปนตนแบบการใหบริการที่สรางรายไดแรกใหกับบริษัท สงผลให ระบบการชําระเงินแบบผูจายจายใหผูรับโดยตรงลมเหลวลงทันที “ไมมีใคร ใชมันอีก” เบรตต คอปฟ ไดกลาวไววา “มันไมไดรับการแกปญหาที่ตรง ประเด็น ทันทีทเี่ ราเปลีย่ นเปาหมายไปสูก ารสรางระบบแบบอิงกับเหตุการณ (Even-based System)” ซึ่งครูสามารถพูดไดวา “ฉันจะไดไปทัศนศึกษาใน สัปดาหหนา คุณจะมารวมดวยได ใชไหม คุณตองการจะจายเงินดวยหรือ ไม” ซึ่งไดเปลี่ยนทุกอยางที่เคยมี มันเริ่มตนขับเคลื1อนและเติบโตยิ่งกวา กาวกระโดดเสียอีก เมื1อใดก็ตามที่ผลลัพธที่สําคัญหรือวัตถุประสงคกลายเปนเรื1องที่ ลาสมัยหรือไมสามารถปฏิบตั ไิ ดอกี ตอไป ใหยกเลิกไปเลยทันทีไมตอ งเก็บเอา ไว และเดินหนาลุยกับเรื1องอื1นๆ ตอดีกวา การวัดผลลัพธทสี่ าํ คัญจะตองเปน เครื1องมือทีจ่ ะชวยทําใหวตั ถุประสงคหลักของเราบรรลุเปาหมายไมใชเปนตัว ที่จะนําพาเราใหเดินหลงไปทางอื1น กรณีที่จะตองยกเลิกเปาหมายของ OKRs ขอใดขอหนึ่งกอนที่จะสิ้น สุดไตรมาสนั้นๆ มีเงื1อนไขสําคัญขอหนึ่งที่จะตองทําคือ จําเปนอยางยิ่งที่จะ ตองมีการแจงใหทกุ คนทราบโดยทันที ซึง่ ขึน้ อยูก บั วาเรื1องนัน้ เปนเรื1องอะไร แลวกลับมาทบทวนกันใหมวา เราไดเรียนรูวามีอะไร อะไรที่เราไมไดคาด การณเอาไวตงั้ แตตอนเริม่ ตนของไตรมาส และเราจะนําบทเรียนที่ ได ใน ครั้งนี้ ไปใชการวางแผนในอนาคตไดอยางไร
170
เพื1อใหไดผลลัพธดที สี่ ดุ จึงควรมีการตรวจสอบผลของ OKRs หลายๆ ครัง้ ในแตละไตรมาส ซึง่ จะตรวจสอบโดยผูจ ดั การและพนักงานทีเ่ กีย่ วของกับ OKRs ขอนั้นๆ ความคืบหนาของเปาหมายจะถูกจัดทําออกมาเปนรายงาน ระบุปญ หา อุปสรรค และการทบทวนผลลัพธทสี่ าํ คัญอยางละเอียด นอกจาก นี้ จะตองมีการพูดคุยกันระหวางหัวหนากับลูกนองเปนรายบุคคล ประชุมกับ ทีมงานและหนAวยงานที่เกี่ยวของเปนประจําเพื1อรวมกันประเมินผลความ คืบหนาของเปาหมายที่สอดคลองกับวัตถุประสงค เมื1อไหรก็ตามที่ OKRs ประเภทที่ตองทํา (พันธสัญญา (Committed OKRs)) ลมเหลวไมไดตาม เปาหมาย จะตองมีการจัดทําแผนสํารองเพื1อกอบกูสถานการณขึ้นมาโดย ทันทีเชนกัน สําหรับทีก่ เู กิลความถีข่ องการตรวจสอบของแตละทีมจะแตกตางกันไป ขึน้ อยูก บั ความตองการทางธุรกิจในขณะนัน้ ขึน้ อยูก บั ความแตกตางระหวาง ผลลัพธทคี่ าดการณไวกบั ผลการลงมือปฏิบตั ิ คุณภาพของการสื1อสารภายใน กลุม รวมถึงขนาดและสถานที่ทํางานของกลุม ยิ่งหนAวยงานมีการกระจาย สมาชิกในทีมมากเทาไหร ก็ยิ่งตองคุยกันบอยขึ้นเทานั้น รอบการตรวจสอบ ความคืบหนาของเปาหมายจะทําเปนรายเดือน การประชุมเพื1อพูดคุยเกี่ยว กับเปาหมายจะมีขึ้นทุกหนAวยงานในองคกร รวมถึงการประชุมอยางเปน ทางการซึ่งบางครั้งก็นําเขาไปสูที่ประชุมระดับคณะกรรมการบริหารเลยก็มี
ขั้นตอนที่ 3 : สรุปผล พัฒนา และนําไปใชซํ้า OKRs จะยังไมหมดอายุเพียงแคการทํางานเสร็จสิ้นลง แตมันเปน ระบบทีส่ รางคุณคาจากการใชขอ มูลอันมหาศาลทีเ่ กิดขึน้ โดยการนําขอมูลหลัง เสร็จสิน้ การประเมินผลงานไตรมาสนัน้ ๆ มาวิเคราะหเพื1อนําไปใชประโยชน ในการบริหารจัดการในอนาคต ไมวา จะเปนการพูดคุยเปนรายบุคคลหรือการ ประชุมทีมงานก็ตาม การสรุปผลการประเมินจะแบงออกเปน 3 สวนหลักๆ คือการใหคะแนนวัตถุประสงค การประเมินตนเอง และการสะทอนกลับ
171
เกณฑการใหคะแนน (Scoring) ในการใหคะแนน OKRs จะพิจารณาวาเราทําอะไรสําเร็จบาง และระบุ วาเราจะตองทําอะไรทีแ่ ตกตางจาการตัง้ เปาหมายในครัง้ ตอไปบาง คะแนน ทีต่ าํ่ จะกดดันใหตอ งมีการประเมินซํา้ เพื1อตอบคําถามทีว่ า วัตถุประสงคนยี้ งั มีคุณคาที่จะตองทําตอหรือไม ถายังมีคุณคาแลวเราจะเปลี่ยนแปลงอะไร บางเพื1อใหบรรลุตามเปาหมายที่ตองการ ศิลปะการบริหารจัดการเปาหมายรูปแบบใหมนี้ การใหคะแนน OKRs จะเปนระบบที่สรางขึ้นโดยจะแสดงตัวเลขอยางชัดเจน ไมตองกรอกหรือมี การแกไขโดยคนทํางาน (ซึง่ จะทําแบบอัตโนมัตนิ อ ยกวา เปนรูปแบบทีท่ าํ กัน ขึน้ มาเอง รวมถึงผู ใชอาจจะตองทําการคํานวณดวยตนเอง) ทัง้ นีแ้ นวทางที่ งายและโปรงใสทีส่ ดุ ในการใหคะแนนของวัตถุประสงค คือการเฉลีย่ รอยละ ของอัตราความสําเร็จของแตละผลลัพธที่สําคัญ ซึ่งที่กูเกิลจะใชสเกลการ ใหคะแนนระหวาง 0 ถึง 1.0 x 0.7 ถึง 1.0 แสดงเปนสีเขียว* (เราทําได) x 0.4 ถึง 0.6 แสดงเปนสีเหลือง (เรามีความกาวหนา แตยงั ไมสาํ เร็จ) x 0.0 ถึง 0.3 แสดงเปนสีแดง (เราลมเหลว) สําหรับทีอ่ นิ เทลก็ ได ใชสตู รทีค่ ลายๆ กันนี้ คุณอาจจะจํา OKRs ของ ปฏิบัติการทําลายลางหรือที่เรียกวา “Operation Crush” ได ซึ่งเปนปฏิบัติ การที่ไดชวยผลักดันใหบริษัทอินเทลสามารถกอบกูสวนแบงการตลาดของ ไมโครโปรเซสเซอรกลับคืนมาได นีค่ อื คําสัง่ แบบยกทัพโจมตีของ แอนดี้ โกรฟ ในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 1980 ที่ลงนามโดยทีมบริหารของเขา เมื1อสิ้นสุด ไตรมาสจะมีการใหคะแนน กรุณาดูตัวอยางในตารางขางลางนี้ จะมีการให คะแนนอยูในวงเล็บหลังผลลัพธที่สําคัญแตละขอ * คะแนนฐานของการวัดผลเปาหมายของกูเกิล จะอยูที่ 0.7 สําหรับความสําเร็จ ซึ่งสะทอนถึงความ ทะเยอทะยานของเปาหมายที่ทาทาย (ดูในบทที่ 12) หลักการนี้จะไมนําไปใชกับเปาหมายประเภทที่ ตองทําของบริษัท (Committed Goals) ตัวอยางเชน เปาหมายการขายของผลิตภัณฑที่ออกไป ถาคะแนนที่ตํ่ากวา 1.0 จะถือวาลมเหลว
172
วัตถุประสงคบริษัท สราง 8086 ใหมีความสามารถสูงสุดในตระกูล ไมโครโปรเซสเซอร 16 บิต โดยวัดผลจาก
ผลลัพธที่สําคัญ 1. พัฒนาและประกาศมาตรฐานการเปรียบเทียบ 5 เรื1องที่ผลิตภัณฑ ในกลุม 8086 มีประสิทธิภาพ เหนือกวา (0.6) 2. ออกแบบบรรจุภัณฑของผลิตภัณฑ ในกลุม 8086 ใหมทั้งหมด (1.0) 3. นําชิ้นสวน 8 MHz เขาสูกระบวนการผลิต (0) 4. ตัวอยางของหนEวยประมวลผลทางคณิตศาสตร (Arithmetic Coprocessor) ไมเกิน วันที่ 15 มิถุนายน (0.9)
นี่คือที่มาของเกณฑที่ใช ในการตัดสินใจในการใหคะแนนในครั้งนี้ x เราทําเกณฑมาตรฐานการเปรียบเทียบแลวเสร็จ 3 เรื1องใน 5 เรื1อง เปนความสําเร็จเทากับ 0.6 ซึ่งตกอยูในโซนการประเมิน ผลงานที่เปนสีเขียว x ออกแบบบรรจุภัณฑของผลิตภัณฑ ในกลุม 8086 ใหมทั้งหมด ภายใตผลิตภัณฑ ใหมที่ชื1อวา iAPX ซึ่งเสร็จสมบูรณ ดังนั้น จึงให คะแนนเต็มที่ 1.0 x การผลิตชิ้นสวน 8 MHz ซึ่งเกิดขึ้นเมื1อตนเดือนพฤษภาคมนั้นมี ความลมเหลวเกิดขึน้ * เนื1องจากปญหาเกีย่ วกับโพลิซลิ คิ อน ดังนัน้ เปาหมายนีจ้ ะถูกเลื1อนออกไปจนถึงเดือนตุลาคม นัน่ หมายความวา คะแนนที่ได ในขอนี้คือศูนย x สําหรับหนAวยประมวลผลทางคณิตศาสตร เปาหมายจะตองจัดสง ใหได 500 ชิ้น ภายในวันที่ 15 มิถุนายน ผลปรากฏวาเราสามารถ สงมอบได 470 ชิ้น คะแนนเลยออกมาที่ 0.9 ผลงานในขอนี้จึง อยูในโซนสีเขียวเชนกัน
173
จากตัวอยางนี้โดยรวมแลวจะเห็นวา เรามีคะแนนเฉลี่ยอยูที่ 62.5% (หรือคะแนนดิบที่ 0.625) สําหรับผลลัพธทสี่ าํ คัญ 4 ขอในวัตถุประสงคเรื1องนี้ คณะกรรมการของอินเทลไดตดั สินแลววาตํา่ กวาทีค่ าดหมายไว แตก็ ไมมาก เพราะพวกเขารูด วี า ไดมกี ารตัง้ เปาหมายทีท่ า ทายมากแลวจริงๆ ซึง่ กอนทีจ่ ะ เริ่มตนไตรมาสนั้น เราก็พอรูอยูแลววาจะไมสามารถบรรลุเปาหมายเหลานี้ ได เมื1อไหรก็ตามที่หนAวยงานไหนทําผลงานไดเกือบเต็มหรือเต็ม 100% ให สันนิษฐานไวไดเลยวาหนAวยงานนั้นตั้งเปาหมายตํ่าเกินไป และอาจจะนําไป สูปญหายุงยากในการจายผลตอบแทนได
การประเมินตนเอง (Self-assessment) ในการประเมินผลการทํางานของ OKRs ขอมูลที่วัดเปนตัวเลขได จะถูกนําไปประกอบการพิจารณาดวยความคิดและดุลยพินิจของผูกําหนด เปาหมาย เหตุผลก็เพราะวาทุกๆ เปาหมายในทุกๆ ไตรมาสอาจจะมีปจจัย ภายนอกที่ไมสามารถวัดออกมาเปนตัวเลขไดเขามามีผลตอผลงานก็ ได เชน บางครัง้ ผลงานทีเ่ ปนตัวเลขอาจจะดูตาํ่ แตคนทํางานไดทมุ เทความพยายาม ลงไปอยางมาก หรือในทางกลับกัน ผลงานที่เปนตัวเลขสูงมาก แตในความ เปนจริงอาจจะเปนตัวเลขที่ตกแตงขึ้นมาอยางไมถูกตองก็ ไดเหมือนกัน สมมติวาวัตถุประสงคของทีมคือการหาลูกคาใหม และผลลัพธที่ สําคัญระดับบุคคลของคุณคือจะตองโทร. หาลูกคาใหได 50 ราย เมื1อสิน้ สุด การดําเนินงาน คุณโทร. หาได 35 ราย คะแนนที่ไดจะเทากับ 70% ถามวา ผลลัพธที่เกิดขึ้นสําเร็จหรือลมเหลว หากดูจากขอมูลเพียงอยางเดียวไมได ชวยใหเราเขาใจอะไรไดมากนัก แตหากวาการโทร. ของคุณ 12 ครั้งใน หลายๆ ชั่วโมง แลวทําใหไดลูกคาใหม 8 ราย คุณอาจจะใหคะแนนตนเอง สมบูรณแบบที่ 1.0 ก็ ได * ผลลัพธที่สําคัญนี้สะทอนถึงพลังอันนAาทึ่งของกฎของมัวร 8 MHz เปนความเร็วที่สูงมากใน เวลานั้น แตวันนี้คุณสามารถซื้อโครมบุกในราคา 300 เหรียญ ที่ทํางานไดเร็วกวา 2 GHz หรือ เร็วกวาถึง 250 เทา
174
ในทางตรงกันขาม หากคุณมีการผัดวันประกันพรุง และไปเรงโทร. ทีเดียว 50 สาย และไดลูกคาใหมที่มาเซ็นสัญญาเพียงรายเดียว คุณอาจ จะประเมินผลงานของตนเองที่ 0.25 เพื1อผลักดันใหคุณตองกลับไปทุมเท ความพยายามใหมากกวานี้อีก (และในกระบวนการพูดคุยเพื1อสะทอนกลับ ของหัวหนา คุณอาจจะถูกถามวา ตกลงวาผลลัพธทสี่ าํ คัญเรื1องจํานวนลูกคา ใหม สําคัญกวาจํานวนที่โทร. ได ใชไหม) หรือถาคุณเปนผูจ ดั การฝายประชาสัมพันธ และผลลัพธทสี่ าํ คัญของ ทีมคุณคือ การลงบทความที่เกี่ยวกับบริษัทของคุณในสื1อสิ่งพิมพระดับชาติ จํานวน 3 เรื1อง ถึงแมวาสุดทายจะสามารถตีพิมพไดแค 2 เรื1อง แตหนึ่ง ในนั้นไดขึ้นปกของ The Wall Street Journal คุณอาจจะไดคะแนนดิบ เทากับ 67% แตคุณอาจจะพูดวา ฉันใหคะแนนพวกเราที่ 9 เต็ม 10 เลย เพราะเราสามารถทําไดอยางยอดเยี่ยมทีเดียว ที่ไดลงในวารสารที่ดีที่สุดได บุคลากรของกูเกิลจะไดรับการสงเสริมใหทําการประเมินตนเองกับ OKRs ของพวกเขา เอาไวเปนแนวทางในการพิจารณาการใหคะแนน ไมใช เอาไวตัดเกรดการประเมินผลงาน อยางที่ โชนAา บราวน อดีตรองประธาน อาวุโส (SVP) ดานการปฏิบัติการธุรกิจ ไดอธิบายใหผมฟงวา มันไมสําคัญ หรอกวาพวกเขาไดสีแดง สีเหลือง หรือสีเขียว แตจะดูจากสิ่งที่พวกเขา ทําไดเหนือกวาธุรกิจโดยทัว่ ไป และเชื1อมโยงกับเปาหมายโดยรวมของบริษทั จากทัง้ หมดทีก่ ลาวมา ประเด็นสําคัญของวัตถุประสงคและผลลัพธทสี่ าํ คัญ ก็คือการทําใหทุกคนไดทําในสิ่งที่ถูกตอง
175
ตารางที่ 10.1 เกณฑการประเมินและการใหคะแนน OKRs
ความคืบหนา
คะแนน
การประเมินตนเอง
ไดลูกคาใหม 10 ราย
70%
0.9
เนื1องจากการตกตํ่าของสภาวะตลาด จึง มีความยากลําบากกวาเปาหมายที่คาดไว ลูกคาใหม 7 รายของเราแสดงใหเห็นถึง ความพยายามและผลลัพธที่ยอดเยี่ยม
ไดลูกคาใหม 10 ราย
100%
0.7
เมื1อฉันบรรลุเปาหมายเพียง 8 สัปดาห ของไตรมาส ฉันก็รูแลววาฉันตั้งเปาหมาย ตํ่าเกินไป
ไดลูกคาใหม 10 ราย
80%
0.6
ในขณะที่ฉันเซ็นสัญญากับลูกคาใหม 8 ราย ก็โชคดีที่มีลูกคารายหนึ่งเปนคนพา ลูกคาเขามาเพิ่มอีก 5 ราย
ไดลูกคาใหม 10 ราย
90%
0.5
แมวาฉันจะไดลูกคาใหม 9 ราย แตฉัน พบวามี 7 รายที่ทําใหเกิดรายไดเพียงเล็ก นอยเทานั้น
บางคนอาจจะใหคะแนนตนเองมากหรือนอยเกินไป ก็อาจจะถูกคน อื1นๆ ตั้งคําถามได ซึ่งไมวาจะเกิดเหตุการณแบบไหนขึ้น หัวหนาทีมที่รับผิด ชอบในเรื1องนีจ้ ะตองเขามาชวยสอบเทียบความแมนยําใหไดผลทีถ่ กู ตองใกล เคียงกับความเปนจริงใหมากที่สุด จะเห็นไดวาระบบนี้ผลลัพธที่เปนตัวเลข จะมีผลนอยกวาการใหขอมูลปอนกลับจากหัวหนาและการอภิปรายแสดง ความคิดเห็นจากเพื1อนรวมงาน เมื1อคะแนนของ OKRs ระบุถึงสิ่งที่ถูกตองหรือไมถูกตองในการ ทํางาน และสิ่งที่ทีมจะตองปรับปรุง การประเมินตนเองจะชวยใหการตั้ง เปาหมายสําหรับไตรมาสถัดไปมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ไมมีการตัดสินวา ใครถูกใครผิด เพราะทั้งหมดนี้เปนเพียงการเรียนรูเทานั้น
176
การสะทอนกลับ OKRs เปนระบบที่มุงเนนการลงมือทําอยางจริงจัง แตเมื1อลงมือทํา อยางไมลดละและไมหยุดยั้ง ก็จะกลายเปนลอหมุนของหนูแฮมสเตอรได ในความเห็นของผม “หัวใจสําคัญ” ทีจ่ ะทําใหระบบนีป้ ระสบความสําเร็จเปน ที่นAาพอใจคือการตั้งเปาหมายที่ทาทาย การทําใหบรรลุเปาหมาย การหยุด เพื1อสะทอนถึงความสําเร็จ และการนําวงจรนี้มาใชซํ้าอีกในรอบตอไป จาก การศึกษาของฮารวารดบิสซิเนสสคูล พบวา “การเรียนรูจากประสบการณ ตรง จะมีประสิทธิภาพมากขึ้นหากทําควบคูไปกับการสะทอนความคิดเห็นที่ เกิดจากการคิดเชิงสังเคราะหทั้งสิ่งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม แลวนําไป ตอยอดในการพัฒนาออกมาเปนบทเรียนเชิงประสบการณ” นักปรัชญาและ นักการศึกษาอยาง จอหน เดวี่ ไดนําเสนอเพิ่มเติมวา “เราไมไดเรียนรูจาก ประสบการณ โดยตรง แตเราเรียนรูจ ากสิง่ ทีส่ ะทอนออกมาจากประสบการณ ที่เกิดขึ้นตางหาก” และนีค่ อื ตัวอยางบางสวนของการสะทอนเมื1อถึงชวงปดรอบไตรมาส ของ OKRs x ฉันบรรลุวัตถุประสงคทุกขอใชไหม x ถาใช อะไรคือสิ่งที่ทําใหฉันประสบความสําเร็จ x ถาไมใช อะไรคือปญหาอุปสรรค x ถาฉันยอนกลับไปเขียนเปาหมายนี้ ใหมอก ี ครัง้ เพื1อทําใหเปาหมาย นี้บรรลุ ฉันควรจะกลับไปเปลี่ยนแปลงอะไรบาง x ฉันไดเรียนรูอ ะไรบางทีอ่ าจนําไปใชปรับปรุงแกไขการตัง้ เปาหมาย OKRs ในไตรมาสตอไป
177
การประเมินและสรุปผล OKRs สามารถมองไดทั้งไปขางหนาและ ยอนกลับไปขางหลังในเวลาเดียวกัน วัตถุประสงคที่ยังไมสมบูรณอาจถูก เลื1อนออกไปอยูในไตรมาสหนา ซึ่งอาจจะมีการทบทวนการวัดผลลัพธที่ สําคัญใหม หรือวัตถุประสงคบางขออาจจะถึงเวลายกเลิกไปไดแลว แต อยางไรก็ตามไมวา จะยกเลิกหรือเลื1อนออกไป ทุกการตัดสินใจจะตองอยูบ น พื้นฐานของความมีเหตุมีผล สิ่งสําคัญอีกอยางหนึ่งคือ หลังจากมีการประเมินผลงานและยอมรับ ถึงความผิดพลาดที่เกิดขึ้นกันแลว จงหายใจเขาลึกๆ เพื1อสัมผัสกับความ กาวหนาของคุณ จากนัน้ คุณก็จงไปเฉลิมฉลองกับทีมของคุณเถอะ เพราะระบบ OKRs ไดเติบโตและกาวหนาอยางมีพลังในองคกรของคุณเรียบรอยแลว
178
11
ระบบการติดตามผล : ของมูลนิธิเกตส บิลล เกตส ประธานรวม
แพตตี้ สโตนไซเฟอร อดีต CEO นป 2000 มีการจัดตั้งมูลนิธิบิลล & เมลินดา เกตสขึ้นมา ดวยเงินทุน เริม่ ตนทีส่ งู ถึง 2 หมื1นลานเหรียญ ซึง่ เปนสิง่ ที่ไมเคยมีมากอนในโลกใบ นี้ ขณะนัน้ บิลล เกตส เองก็เพิง่ กาวลงจากตําแหน7ง CEO ของไมโครซอฟต แตเขาก็ยังคงดํารงตําแหน7งเปนประธานเจาหนาที่ดานกลยุทธผลิตภัณฑ ของบริษทั อยู ดังนัน้ เขาจึงตองพยายามหาทางออกทีด่ ที สี่ ดุ ทีจ่ ะสรางความ สําเร็จที่ยิ่งใหญใหกับมูลนิธิ และสามารถปรับตัวใหเขากับสถานการณที่ เปลีย่ นแปลงได ในขณะทีต่ วั เขาเองก็ยงุ มาก แตเขาก็อยากใหมลู นิธเิ ดินหนา ไปอยางรวดเร็ว ดังนั้น เขาจึงจําเปนตองหาแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการ ชวยจัดการกับปญหาและความทาทายเหลานี้ และสิง่ ทีจ่ ะชวยปองกันความ เสี่ยงในเรื1องที่สําคัญนี้ ไดคือ ระบบการติดตามความคืบหนาในการดําเนิน งานของมูลนิธิ เพราะจะชวยใหเขาเห็นปญหา เพื1อหยุดหรือยอนกลับมา ทบทวนเปาหมายในระหวางที่กําลังดําเนินงานได
ใ
179
มูลนิธิที่ตั้งขึ้นมาใหมนี้ มีการกําหนดภารกิจที่กลาหาญและทาทาย อยางมาก นั่นคือ “ทุกๆ คนจะตองมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี” ดังนั้น ผูนําของมูลนิธิจึงไดขอการสนับสนุนจากบุคคลตางๆ จํานวนมากที่ทํางาน อุทศิ ตนในการดูแลสุขภาพใหกบั ผูค นทัว่ โลก และไดบอกกับพวกเขาวา “ถา คุณมีทรัพยากรที่ไมจาํ กัด คุณจะทําอะไรเพื1อใหชาวโลกมีสขุ ภาพดีขนึ้ กวาวิธี การพัฒนาแบบคอยเปนคอยไป (เหมือนอดีตที่ผานมา)” ในป 2002 ทางมูลนิธิไดมีการขยายขอบเขตของการทํางานไปยัง เรื1องทีจ่ าํ เปนจะตองมีการเปลีย่ นรูปแบบของการตัง้ เปาหมายอยางเรงดวน ซึ่งภายหลังจากที่ CEO แพตตี้ สโตนไซเฟอร ไปไดยินเรื1องราวเกี่ยวกับ OKRs จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริหาร (บอรด) ของอะเมซอน เธอก็เลย ขอใหผมนําเสนอใหกับมูลนิธินี้ดวย และตอไปนี้คือเรื1องราวของ OKRs ที่ เกิดขึ้นในมูลนิธิของเกตส
แพตตี้ สโตนไซเฟอร : พวกเราทุกคนไดรับของขวัญอันลํ้าคาและ สวยงามผานกระดาษที่วางเปลาตรงหนาที่เขียนวา “คุณตองการจะเปลี่ยน โลกใบนี้ ใหเปนอยางไร” แตวาของขวัญอันลํ้าคานี้มาพรอมกับภาระและ ความรับผิดชอบอันยิง่ ใหญเชนกัน เพราะเมื1อไหรทคี่ ณ ุ มีเปาหมายทีย่ งิ่ ใหญ คุณจะรูไดอยางไรวาคุณมีความกาวหนาหรือไม อยางไร พวกเรารูสึกมีแรงบันดาลใจจากความรับผิดชอบที่มีตอเงินทุนของ มูลนิธิ ซึง่ ทัง้ บิลลและเมลินดาตองการทีจ่ ะรูว า ไดมกี ารวางระบบการบริหาร จัดการเพื1อขับเคลื1อนไปยังเปาหมายทีท่ า ทายของเราได เราขอนําคําพูดของ จิม คอลลินส มาใช จิมกลาววา ““คุณคิดวาจะสามารถเปนอะไรที่ดีที่สุดใน โลกได” เมื1อไดคาํ ตอบทีช่ ดั เจนแลว เราจึงเริม่ เขาสูก ระบวนการของ OKRs เราเชื1อวาทุกคนควรจะมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งบิลลและเมลินดา ตางก็เชื1อวาเทคโนโลยีจะสามารถสรางใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีในเรื1อง นี้ ได และนี่คือสิ่งที่อยูในสายเลือด (DNA) ของเรา
180
เมลินดา เกตส, แพตตี้ สโตนไซเฟอร และ บิลล เกตส ขณะทําการทบทวน OKRs ในป 2005
ที่ผานมา เราไดมีการใชตัวชี้วัดทางดานสุขภาพในระดับโลกที่เรียก วา การสูญเสียปสุขภาวะ หรือ Disability – Adjusted Life Year (DALY)1 ซึง่ ชวยใหขอ มูลทีน่ าํ มาใช ในการประเมินความคุม คาในการลงทุนจุลโภชนา สาร (Micronutrient)2 เพื1อชวยในการรักษาโรคตาบอดแถบแมนํ้า (River Blindness)3 จากขอมูลของ DALY ทําใหเรามุงเนนไปที่การใหวัคซีน ที่จะ 1
การสูญเสียปสุขภาวะ (Disability – Adjusted Life Year : DALY) จะประกอบดวยสองสวนที่สําคัญ คือ จํานวนปที่สูญเสียจากการตายกอนวัยอันควร (Years of Life Lost : YLLs) และจํานวนปที่อยู ดวยความพิการ (Year Lost Due to Disability : YLDs) – ผูเรียบเรียง 2 จุลโภชนาสาร (Micronutrient) เปนสารอาหารที่พบมากในผักผลไม และรางกายตองการปริมาณ นอยเมื1อเทียบกับสารอาหารหลัก แตเปนสารอาหารที่รางกายขาดไมได ไดแก วิตามินและเกลือแร ซึ่งเปนสารอาหารที่จําเปนตอรางกาย - ผูเรียบเรียง 3 โรคตาบอดแถบแมนํ้า (River Blindness) หรือโรคพยาธิตาบอด (Onchocer Ciasis) เปนโรคที่มี สาเหตุการติดเชื้อมาจากพยาธิปรสิต ที่เรียกวา Onchocerca Volvulus โดยผูปวยโรคนี้จะมีอาการ คันอยางรุนแรง มีตุมใตผิวหนัง และตาบอด
181
ชวยใหเกิดความปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามเจตนารมณของเรา ปจจุบันนี้ เราไดมีการวัดผลลัพธที่สําคัญที่ขับเคลื1อนดวยระบบของ OKRs ที่ชวยใหทุกอยางมีความชัดเจนมากขึ้น
บิลล เกตส : ที่ไมโครซอฟตของเรา การตัง้ เปาหมายยากๆ มีความทาทาย ถือเปนสิ่งที่สําคัญมาก จริงๆ แลวถือวาเปนเรื1องธรรมชาติมากเลย เพราะ สมัยที่ผมยังเปนเด็ก ผมเคยคิดวาซอฟตแวรเปนเรื1องที่มหัศจรรยและ น7าหลงใหลมาก และในเวลาอีกไมนานนัก การพัฒนาการอยางกาวกระโดดของ ทรานซิสเตอร ไดชว ยใหการทํางานของอุปกรณคอมพิวเตอรมปี ระสิทธิภาพ เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่คนทํางานดานการพัฒนาชิปประมวลผลกําลังพัฒนา อะไรใหเราอยางไมมีที่สิ้นสุด เชนเดียวกันกับคนที่ทํางานเกี่ยวกับการจัด เก็บขอมูลและการสื1อสารที่กําลังเขียนโคดโปรแกรม (Exponential Code) ใหเราอยู คนที่ทํางานเกี่ยวกับหนาจอแสดงผลไมไดพัฒนาอะไรใหกาวหนา ไปมากนัก แตคนทีท่ าํ งานในสวนของการออกแบบกราฟกสําหรับการใชงาน ของผู ใช (Graphical User Interface) ก็พัฒนาไดเร็วพอสมควร แตตอน นั้นเราขาดเพียงแคหนึ่งอยาง นั่นก็คือสวนของซอฟตแวรที่จะชวยทําให อุปกรณเหลานัน้ ทํางานไดอยางน7าทึง่ และน7าสนใจ ทําใหผมตัดสินใจยกเลิก การทําตัวเหมือนทนายความหรือเปนนักวิทยาศาสตรทคี่ อยนัง่ ดูแตสงิ่ ทีท่ าํ ได แน7ๆ อยูแลว แคคิดวาสิ่งที่พวกเรากําลังทําจะสรางสรรคอะไรไดบาง ดวย สิ่งที่ผมเรียกมันวา “ขอมูล-เพียงปลายนิ้วสัมผัส” นั่นเอง และนี่แหละคือ สิ่งที่ผมสนใจและรูสึกตื1นเตนกับมันมากกวา
182
แมกอนที่ พอล อัลเลน และผม จะมาเปนหุนสวนกัน เราก็พูดกัน วาในอนาคตโตะทุกตัวและบานทุกหลังจะมีคอมพิวเตอร แตทั้ง IBM และ บริษทั อื1นๆ ทีเ่ ขามีทรัพยากรและทักษะเหนือกวาเรากลับไมสนใจในเปาหมาย ที่วานี้ พวกเขาไมเห็นวามันจะเปนไปได ดังนั้น พวกเขาจึงไมไดจริงจังกับ การผลักดันในเรื1องนี้เกิดขึ้นจริง แตพวกเรากลับเห็นวามันสามารถเกิดขึ้น ได ถาวากันตามกฎของมัวร1 คือ เมื1อจํานวนคอมพิวเตอรเพิ่มขึ้นมากเทา ไหร ราคาจะถูกลงมากเทานัน้ และเมื1อถึงจุดจุดหนึง่ อุตสาหกรรมซอฟตแวร จะเจอกับสภาะที่เรียกวามวลวิกฤติ (Critical Mass)2 คือทุกคนบนโลกนี้ ถือวาคอมพิวเตอรไมใชเรื1องแปลกใหมแตเปนสวนประกอบหนึ่งของชีวิต ไปเรียบรอยแลว นี่คือเปาหมายที่ยิ่งใหญของเรา ซึ่งบริษัทยักษ ใหญเหลา นั้นเขาไดเริ่มตนใหเราแลว นี่คือขอไดเปรียบอยางมากสําหรับเรา ที่จะทําใหเราสามารถตั้ง เปาหมายที่สูงขึ้นได
กําหนดเปาหมายที่เปนรูปธรรมจับตองได ในป 2000 เมลินดาและผมไดนําเงิน 2 หมื1นลานเหรียญใสเขาไป ในมูลนิธิเกตส ซึ่งกลายเปนจุดเริ่มตนของสตารต-อัพที่มีขนาดใหญที่สุด ในโลก และในแตละปมูลนิธิได ใชจายเงินไมนอยกวาพันลานเหรียญ ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองมีกฎระเบียบในควบคุมการจายเงินขึ้นมาดวย 1
กฎของมัวร (Moore’s Law) เปนกฎที่อธิบายถึงแนวโนมของการพัฒนาฮารดแวรคอมพิวเตอร โดยระบุวา จํานวนของทรานซิสเตอรที่สามารถบรรจุลงในชิป จะมีจํานวนเพิ่มขึ้นเปนสองเท า ในทุกๆ สองป ซึ่งกฎนี้ตั้งชื1อตามเจาของทฤษฎีคือ กอรดอน มัวร ซึ่งเปนหนึ่งในผูรวมกอตั้งอินเทล - ผูเรียบเรียง 2 มวลวิกฤติ (Critical Mass) จะมาจากทฤษฎีที่วา เมื1อในสังคมเกิดภาวะมวลวิกฤติ หรือเกิดจํานวน วิกฤติ (Critical Number) ซึ่งไมมีใครสามารถระบุไดวาเปนจํานวนเทาไรของจํานวนสมาชิกทั้งหมด ของสังคม สังคมก็จะเริม่ ยอมรับในพฤติกรรมอยางใดอยางหนึง่ และก็จะเกิดการตัดสินใจปรับเปลีย่ น พฤติกรรมไปในกลุมที่เหลือทั้งหมด - ผูเรียบเรียง
183
บิลล เกตส กําลังใหวัคซีนปองกันโรคโปลิโอในชองปากแกเด็กในเมืองมุมไบ ประเทศอินเดีย ในป 2000
ผมไดเห็น แอนดี้ โกรฟ ใชเปาหมายยอย (ผลลัพธที่สําคัญ) ในการ บริหารคน นอกจากนัน้ ผมไดเรียนรูจ ากคนญีป่ นุ และการบริหารจัดการเมื1อ ในองคกรขาดคนทํางาน ตอนนัน้ ผมไมคดิ วาผมไดคดิ คนอะไรใหม ผมไดแค ดูและเรียนรูไวเทานั้น จนเมื1อ แพตตี้ สโตนไซเฟอร ไดนํา OKRs เขามา ซึ่งมีการแสดงผลการดําเนินงานออกมาเปนสีเขียว - เหลือง – แดง ซึ่งมัน ไดผลดี เมื1อมีการนํา OKRs มาใช ในการประเมินผลการดําเนินงาน ผมรูส กึ ดีกบั สิง่ ทีเ่ รากําลังปฏิบตั ติ าม ในขณะทีผ่ มเองยังคงบริหารอยูท ี่ไมโครซอฟต ทําใหผมมีเวลาทีจ่ าํ กัด ดังนัน้ แพตตีจ้ งึ ตองทําทุกอยางใหมปี ระสิทธิภาพเพื1อ ใหมั่นใจวาเราสองคนเห็นชอบรวมกัน กระบวนการที่ถือวาเปนหัวใจสําคัญ ของระบบ OKRs คือ การกําหนดเปาหมาย ที่ผานมามีอยูสองเรื1องที่ผม ปฏิเสธเงินสนับสนุนเพราะเปาหมายไมชัดเจนมากพอ ซึ่งระบบ OKRs นี้ แหละที่ทําใหผมรูสึกมั่นใจวาการตัดสินใจที่ผานมานั้นถูกตองแลว
184
ผมเปนแฟนตัวยงของการกําหนดเปาหมาย แตพวกมันก็ตองไดรับ การจัดการอยางถูกตองดวย มีอยูชวงหนึ่งที่ทีมโรคมาลาเรียคิดวาเราจะ สามารถทําการกําจัดโรคนี้ ใหหมดไปภายในป 2015 ซึ่งในความเปนจริง แลวมันคงเปนไปไมได เมื1อเปาหมายมีความทะเยอทะยานมากเกินไป ก็จะ สงผลเสียตอความน7าเชื1อถือ ในการบริจาคผมเห็นผูค นมีความสับสนระหวาง วัตถุประสงคกับภารกิจอยูตลอดเวลา ภารกิจ (Mission) จะบอกถึงทิศทาง ที่เราตองการจะมุงไป สวนวัตถุประสงค (Objectives) คือความสําเร็จที่ วัดได จับตองได และอยากใหเกิดขึ้นในแตละชวงเวลา เพื1อใหมั่นใจวาจะ นําพาเราไปสูก ารบรรลุภารกิจทีก่ ําหนดเอาไวได เปนการดีทจี่ ะมีเปาหมายที่ ทะเยอทะยาน แตคณ ุ ตองสามารถบอกไดวา เปาหมายนัน้ อยูร ะดับไหน และ วัดผลมันไดอยางไร ผมคิดวามันกําลังเริม่ ดีขนึ้ เพราะการบริจาคชวยทําใหผคู นจากวงการ ธุรกิจที่ประสบความสําเร็จเขามามีสวนรวมมากขึ้น และมีแนวโนมที่จะเพิ่ม ขึ้นอยางตอเนื1องดวย การมีพันธกิจที่ดีอยางเดียวมันยังไมเพียงพอ คุณจะ ตองมีวตั ถุประสงคทเี่ ปนรูปธรรมจับตองได และจะตองรูด ว ยวาคุณจะทําให บรรลุภารกิจนั้นไดอยางไร
แพตตี้ สโตนไซเฟอร : OKRs ชวยใหเรามีทั้งความทะเยอทะยาน และมีวินัยในเวลาเดียวกัน เมื1อไหรก็ตามที่ประเมินผลแลวพบวาผลลัพธ ทีส่ าํ คัญ (Key Results) ไมคบื หนาหรือแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวาไมสามารถ บรรลุวตั ถุประสงคนนั้ ไดแน7นอน เราจะจัดสรรเงินทุนกันใหม เชน หากเรามี การกําหนดเปาหมายในการกําจัดโรคพยาธิกเี นีย* ซึง่ เปนเปาหมายทีม่ คี วาม ทาทายอยางมาก สิ่งสําคัญคือเราตองทราบวาเงินและทรัพยากรตางๆ ที่ *
โรคพยาธิกีเนีย (Guinea Worm) เปนโรคพยาธิที่พบมากในแอฟริกา อเมริกาใต และเอเชีย เปน พยาธิเกาแกทอี่ าศัยอยูต ามแหลงนํา้ เกิดจากการดื1มนํา้ จากลําธารธรรมชาติทมี่ พี ยาธิปนอยู เมื1อเขาสู รางกายพยาธิก็จะชอนไชไปทั่ว จะมีอาการปวดแสบปวดรอน วิธีรักษาตองหาทางนํามันออกจาก รางกายใหไดเทานั้น - ผูเรียบเรียง
185
เราใสลงไปในโครงการนั้นมีความกาวหนามากนอยเพียงใด การใช OKRs ทําใหเราสามารถติดตามผลไดทั้งรายไตรมาสและรายป เพื1อจะไดทราบถึง ผลลัพธที่สําคัญ (Key Results) ที่เกิดขึ้นจริงเทียบกับวัตถุประสงคหลักที่ ยิ่งใหญ (Objectives)* คุณไมมีทางรู ไดเลยวาเครื1องมือหรือวิธีการที่สําคัญที่สุดตลอด กระบวนการคืออะไร จนกระทั่งคุณสามารถกําหนดเปาหมายที่ทาทายและ ยิ่งใหญมากๆ เชน การเขาถึงวัคซีนของเด็กในทุกแหงหน ดังนั้น ในการ ทบทวนกลยุทธประจําปของเรา จะเริ่มตนดวยการตั้งคําถามวา “อะไรคือ วัตถุประสงคของที่นี่ มันคือการกําจัดหรือการขยายขอบเขตของการเขาถึง วัคซีน” หลังจากนัน้ เราจึงมากําหนดแนวทางทีส่ ามารถปฏิบตั ไิ ดจริงโดยการ กําหนดผลลัพธที่สําคัญ เชน การใชกฎ 80/90 ซึ่งเปนแนวทางปฏิบัติของ กลุมความรวมมือระดับโลกเพื1อการฉีดวัคซีนและการใหภูมิคุมกัน (Global Alliance for Vaccines and Immunization : GAVI) กฎ 80/90 หมายถึง ถามีจํานวนเขตพื้นที่ทั้งหมด 100 เขต เราจะ ตองเขาไปฉีดวัคซีนไดไมนอยกวา 80 เขต และเมื1อรวมพื้นที่ของทั้ง 80 เขตแลวตองครอบคลุมพื้นที่ไมนอยกวา 90% ของพื้นที่ทั้งหมด โดยคุณ จะตองมีการกําหนดผลลัพธที่สําคัญเหลานี้ใหสอดคลองกับกิจกรรมประจํา วันของคุณดวย และเมื1อเวลาผานไป คุณก็ตองพยายามกระตุนใหทีมงาน รูสึกอยากจะทําภารกิจที่ยิ่งใหญนี้ใหสําเร็จมากยิ่งขึ้น
* มูลนิธิเกตสไดมีการมอบรางวัลจํานวนแปดหลักใหแกศูนยคารเตอร (Carter Center) จากผลงานใน
การลดจํานวนของการพบโรคพยาธิกีเนียจาก 75,223 ราย ในป 2000 เหลือ 4,619 ราย ในป 2008 และเหลือเพียงแค 22 ราย ในป 2015 โดยที่โรคนี้มีชื1อวิทยาศาสตรวา “Dracunculiasis” ที่พวก เขาคาดวาจะกลายเปนโรคที่สองในประวัติศาสตรที่จะสามารถกําจัดใหหมดไปไดตอจากไขทรพิษ
186
ขอสารภาพตรงๆ วา ในบางครัง้ เราเองก็มกี ารกําหนดตัวชีว้ ดั บางอยาง ผิดพลาดไปเหมือนกัน ทวาความพยายามเหลานัน้ ก็เพื1อใหเราสามารถรับผิด ชอบตอสิ่งที่เกิดขึ้นได ซึ่งในรูปแบบของมูลนิธิเอกชนสวนใหญไมสามารถ ประเมินหรือวัดผลกระทบทางการตลาดได ดังนัน้ คุณจะตองใหความสําคัญ อยางใกลชดิ กับการติดตามขอมูลทีส่ ามารถชวยใหคณ ุ บรรลุเปาหมายสูงสุด ไดจริงหรือไม เราเรียนรูไดเร็วมากจนบางครัง้ เราก็ตอ งมีการเปลีย่ นแปลงชุด ของขอมูลในระหวางการดําเนินงาน สมมติวาคุณมีเมล็ดพันธุที่จะชวยเพิ่ม การผลิตมันเทศไดเปนสองเทา และคุณก็มงุ เนนไปทีจ่ าํ นวนดังกลาว แตแลว กลับพบวาไมมีใครจะใชเมล็ดพันธุเ หลานัน้ เพราะมันเทศตองใชเวลาถึงสีเ่ ทา ในการประกอบอาหารในตอนกลางคืน จนคุณมองขามเมล็ดพันธุที่มีอยูไป การกําหนดเปาหมายที่ใหญไมยากเทากับการกระจายเปาหมายลงไป ปญหา อุปสรรค หรือขอจํากัดทีจ่ ะตองเอาออกไปเพื1อใหบรรลุเปาหมาย นัน่ คือเรื1องหนึง่ ทีน่ า7 ประทับใจจากหลายเรื1องสําหรับการทํางานรวมกับบิลลและ เมลินดา พวกเขาตองการที่จะเห็นความคืบหนา แตเปาหมายที่ทาทายก็ ไม ไดทําใหกับพวกเขาตองกังวลแตอยางใด กรณีศึกษา : การตอสูอยางตอเนื1องกับสัตวที่ไดชื1อวาน7ากลัวที่สุดในโลก นั่นก็คือ ยุง* ในป 2016 มูลนิธิเกตสมีความรวมมือกับรัฐบาลอังกฤษเปน เวลา 5 ป ดวยเงินสนับสนุนกวา 4,300 ลานปอนด ในโครงการรณรงคกาํ จัด โรคมาลาเรีย ซึ่งถือเปนภัยธรรมชาติที่รายแรงที่สุดในบรรดาโรคเขตรอน และจากขอมูลเชิงประจักษ พวกเขาไดมกี ารขยายการดําเนินงานจากการให วัคซีนปองกันการแพรกระจาย ไปสูย ทุ ธศาสตรการกําจัดใหหมดไปจากโลกนี้ * จากขอมูลขององคการอนามัยโลก (WHO) ระบุวา ยุงมีสวนทําใหผูคนเสียชีวิตถึงปละ 725,000 คน โดยยุงตัวเมีย (Anopheles) หนึ่งในพาหะนําโรคมาลาเรีย สามารถทําใหคนเสียชีวิตไดถึง 429,000 คนในป 2015 และมีบางชวงที่สูงถึง 639,000 ราย แตหากเปรียบเปรียบเทียบกับจํานวนผูเสีย ชีวิตจากการที่มนุษยฆากันเองปละ 475,000 คน คงไมมีสัตวชนิดไหนที่มีสถิติทําใหมนุษยเสียชีวิต ใกลเคียงกับยุงไดเลย
187
วัตถประสงค การกําจัดโรคมาลาเรียทั่วโลกภายในป 2040
ผลลัพธที่สําคัญ 1. พิสูจน ให โลกเห็นวาวิธีการรักษาที่หายขาด สามารถนําไปสูการกําจัดในระดับภูมิภาคได 2. การเตรียมความพรอมสําหรับการยกระดับการทํางาน โดยการสรางเครื1องมือที่จําเปน เชน การวินิจฉัยดวย เทคนิครักษาหลังสัมผัสเชื้อมาลาเรียและการปองกัน หรือเรียกวา SERCAP (Single Exposure Radical Cure and Prophylaxis) 3. ควบคุมใหสถานการณที่ดีอยูแลวทั่วโลกใหมีความยั่งยืน เพื1อใหมั่นใจวาสภาพแวดลอมเอื้อตอการกําจัดโรคนี้ ใหหมดไป
สําหรับวัตถุประสงคสูงสุดก็คือ การกําจัดปรสิตพลาสโมเดียม (Plasmodium Parasite) จากประชากรมนุษย โดยเนนเฉพาะสายพันธุที่ ทนตอยา ซึ่ง บิลล เกตส เองก็ยอมรับวาความพยายามนี้ ไมงายเลย แตก็ มีโอกาสที่จะประสบความสําเร็จไดจริง เนื1องจากทีมของเขากําลังติดตาม เรื1องที่สําคัญนี้อยู
188
12
Superpower #4 : เปาหมายทาทายเพื1อผลงานที่นาทึ่ง ความเสี่ยงที่ ใหญหลวงที่สุด คือการไมยอมเสี่ยงอะไรเลย เมลโลดี้ ฮอบสัน
ร
ะหวางความสามารถทีเ่ รามีกบั ความฝนทีเ่ ราตองการ ระบบนีจ้ ะทําให เราไดคน พบขีดความสามารถใหมๆ ทีเ่ ราไมเคยมีมากอน ชวยแกปญ หา ในแบบสรางสรรค และทําใหมโี มเดลการบริหารธุรกิจในรูปแบบใหม สําหรับ บริษทั ทีต่ อ งการจะประสบความสําเร็จและเติบโตอยางยัง่ ยืนนัน้ สิง่ ทีจ่ าํ เปน ตองมีแน4ๆ คือ การกําหนดเปาหมายที่ทาทายมากๆ หรือเรียกวา “Stretch Goals” เปนเปาหมายที่ตองใชความสามารถและความพยายามแบบสุดๆ เทานั้นจึงจะบรรลุได อยางที่ บิลล แคมปเบลล ชอบพูดเสมอวา บริษัทที่ไมมีการคิดคน นวัตกรรมใหมอยางตอเนื1องคือบริษัทที่กําลังจะตาย คําวาทําตอเนื1อง ผม ไมไดหมายถึง ทําอะไร เหมือนเดิม แตผมหมายถึง ทําอะไรใหมๆ อยาง ตอเนื1องตางหาก การกําหนดเปาหมายแบบอนุรักษนิยมคืออุปสรรคสําคัญ ที่จะขัดขวางการสรางนวัตกรรม และนวัตกรรมเปรียบเสมือนออกซิเจน ถาขาดสิ่งนี้แลวบริษัทก็คงไมมีทางที่จะอยูรอดตอไปได
189
เมื1อเปาหมายทีท่ า ทายมากๆ นีถ้ กู กําหนดขึน้ มาเปนอยางดีแลว ผลลัพธ ทีจ่ ะไดมานัน้ มันคุม คามากๆ กับการทีจ่ ะเสีย่ งลงมือทํา แตเปาหมายทีท่ า ทาย มากๆ หรือเรียกวา “Big Hairy Audacious Goals” หรือเรียกยอๆ วา “BHAG”* ซึง่ เปนคําที่ จิม คอลลินส ระบุไว ในหนังสือเรื1อง Good to Great จะชวยใหเรากระโดดขามไปสูระดับใหมได BHAG เปนเปาหมายที่ทั้งยิ่งใหญและนากลัว คลายกับภูเขา ลูกใหญที่เราตองปนขึ้นไป มันมีความชัดเจนและนาสนใจ ทําใหคน ยอมรับและเขาใจไดอยางถูกตองตรงกัน เปาหมายแบบ BHAG ทํา หนาทีเ่ ปนจุดศูนยรวมความพยายาม สปรติ และจิตวิญญาณของทุก คนใหเปนหนึง่ เดียวกัน เพื1อขับเคลื1อนภารกิจไปสูค วามสําเร็จรวมกัน เชนเดียวกับภารกิจไปดวงจันทรขององคการนาซา ในป 1960 ทีก่ ารตัง้ เปาหมายแบบ BHAG ไดชวยสรางจินตนาการและทําใหผูคนเกิด แรงบันดาลใจอยากจะลงมือทําเปาหมายที่ทาทายมากๆ นั้น เอ็ดวิน ล็อกเก ซึ่งถือเปนบิดาแหงการตั้งเปาหมายอยางเปนระบบ ไดศกึ ษาถึงความสัมพันธเชิงปริมาณระหวางความยากของเปาหมายกับความ สําเร็จ และถึงแมขอบเขตของการศึกษาจะกวางมาก แตผลลัพธก็แสดงให เห็นอยางชัดเจนวา “เปาหมายยิ่งยาก มีสวนทําใหระดับผลงานสูงขึ้นดวย” ถึงแมวา โดยเฉลีย่ แลวจํานวนเปาหมายทีย่ ากมากๆ จะมีโอกาสสําเร็จไดนอ ย ครั้งกวาเปาหมายที่งายๆ ก็ตาม แตการตั้งเปาหมายที่ทาทายมากบอยๆ จะ ชวยยกระดับผลงานใหสูงขึ้นไดดีกวาผลงานที่ผานๆ มาได และจากการ ศึกษาพบอีกวา คนทํางานที่ชอบ “ความทาทาย” ไมเพียงแตจะมีผลงานสูง * BHAG (อานวา Bee Hag) เปนแนวคิดที่พูดไว ในหนังสือเรื1อง Built to Last เขียนโดย จิม คอลลินส และ เจอรรี ไอ. พอรราส มาจากคําเต็มวา Big Hairy Audacious Goal เปนการตัง้ เปาหมาย ทีช่ ดั เจน เขาใจงาย ไมตอ งมีการอธิบายเพิม่ เติม ทุกคนทีเ่ กีย่ วของสามารถเห็นเปาหมายตรงกัน และ ตองเปนเปาหมายที่ทาทาย สามารถกระตุนใหทุกคนที่เกี่ยวของมีความกระตือรือรนที่อยากใหบรรลุ เปาหมายนั้น – ผูเรียบเรียง
190
ขึ้นเทานั้น แตยังมีแรงจูงใจและระดับการมีสวนรวมกับทีมงานเพิ่มมากขึ้น ดวยเชนกัน นอกจากนี้ ยังพบวาการกําหนดเปาหมายที่ทาทายและชัดเจน จะชวยทําใหคนทํางานเห็นคุณคาของงานเพิม่ มากขึน้ และชวยใหเขาคนพบ สิ่งที่น4าสนใจและทําใหเขามีความสุขในงานที่ทําไดอีกดวย ในป 2007 สถาบันวิศวกรรมแหงชาติ ไดตั้งคําถามกับนักคิดชั้นนํา เชน เรย คูรซ ไวล นักอนาคตวิทยา, เจ. เครก เวนเทอร นักพันธุศาสตร และ แลรรี่ เพจ เพื1อใหเลือก “ความทาทายดานวิศวกรรมที่ยิ่งใหญ” 14 เรื1อง สําหรับศตวรรษที่ 21 หลังจากการอภิปรายโตเถียงกันเปนป ทางคณะทํางาน ไดตัดสินวา เปาหมายที่ทาทายที่จําเปนประกอบดวย การสรางพลังงานจาก ฟวชัน่ วิศวกรรมยอนรอยดานสมอง การปองกันการกอการรายจากนิวเคลียร การรักษาความปลอดภัยในโลกไซเบอร คุณน4าจะพอจะมองออกแลวนะวา เปาหมายที่ทาทายมีลักษณะเปนอยางไร เปาหมายที่ทาทายไมจําเปนจะตองเปนเรื1องที่ยากเสมอไป บางครั้ง มันก็หมายถึงงานที่ทําอยูทั่วๆ ไปนั่นแหละ แตในระดับที่แตกตางกันเทานั้น เอง ซึ่งเขากันกับนิยามของผูประกอบการที่ผมชอบ ซึ่งไมเกี่ยวกับขอบเขต และขนาดวา “คนทีส่ ามารถทําอะไรไดมากกวาคนปกติทวั่ ไป เชื1อวาทุกอยางเปน ไปได และเขาทํามันไดดว ยการใชทรัพยากรทีน่ อ ยกวาทีค่ นอื1นคิดดวยซํา้ ” ไมวาองคกรนั้นจะเปนธุรกิจสตารต-อัพที่เพิ่งเริ่มหัดบินหรือองคกร ที่เปนผูนําในตลาด มีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันคือ เปาหมายที่ทาทายมากๆ จะสามารถสรางวัฒนธรรมที่มีความเขมแข็งขึ้นได โดยการกดดันใหคนที่มี ขอจํากัดแบบเดิมพัฒนาประสิทธิภาพการทํางานประจําใหมุงสูระบบปฏิบัติ การที่เปนเลิศ อยางที่ ฟลิป พอตลอฟฟ ซึ่งเปนประธานเจาหนาที่ดาน ดิจิทัลของ Edmund.com ไดกลาวไววา “เราพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงวิธี การคาปลีกรถยนตอยางที่เราใชอยู ซึ่งถือเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ และเปนการสรางโอกาสทีย่ งิ่ ใหญไปในตัวดวย สาเหตุทงั้ หมดมันเกิดมาจาก
191
การทีเ่ รามีเปาหมายทีย่ งิ่ ใหญและบาคลัง่ เราตองการสรางการเปลีย่ นแปลง ครั้งใหญในอุตสาหกรรมนี้ ดังนั้น การกําหนดเปาหมายแบบ OKRs เปน ทั้งเหตุผลและหนทางที่จะชวยใหเราจัดการทุกๆ อยางเพื1อใหเราบรรลุ เปาหมายที่ทาทายมากๆ นี้ใหได” เปาหมายประเภททีอ่ ยากทํา (Aspirational Goal) จะชวยดึงเอาศักยภาพ และพลังวิเศษที่มีอยูออกมา จะเห็นไดวาการมี โฟกัส และมี พันธสัญญา ที่มุงมั่นนั้น เปนสิ่งที่จําเปนสําหรับการกําหนดเปาหมายที่แตกตางไปจาก เดิม สวนเรื1องความโปรงใส ความรวมมือ ความสอดคลอง และ ความ เชื1อมโยง จะทําใหองคกรประสบความสําเร็จไดมากกวาองคกรอื1นๆ แตถา ขาดระบบการ ติดตาม ผลงานในเชิงปริมาณ คุณจะสามารถรูไดอยางไรวา ไดบรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม
ตะกราสองใบของ OKRs ที่ กู เ กิ ล ได มี ก ารแบ ง OKRs ออกเป น สองประเภทคื อ เปาหมายที่จะตองทํา (Committed Goals) และเปาหมายที่อยาก ทํา (Aspirational Goals) หรือเรียกวาเปาหมายที่ทาทายมากๆ ซึ่ง ทั้งสองประเภทตางก็มีความแตกตางกัน วั ต ถุ ป ระสงค ที่ ต อ งทํ า (Committed Objective) เปาหมายในกลุมนี้คือตัววัดตางๆ ของกูเกิลที่ตองทําเปนเรื1องปกติ ในธุรกิจอยูแลว เชน การออกผลิตภัณฑ การจองลวงหนา การ จางงาน และเรื1องลูกคา ซึ่งฝายบริหารจะกําหนดใหวัตถุประสงค เหลานี้ ไว ในระดับบริษัท สวนพนักงานจะถูกกําหนดวัตถุประสงค ไว ที่ ร ะดั บ แผนก สํ า หรั บ ตั ว อย า งวั ต ถุ ป ระสงค ที่ ต อ งทํ า เช น เปาหมายการขายและรายได จะตองไดตามเปา 100% ของเปาหมาย ที่กําหนดไวภายในเวลาที่กําหนด
192
วัตถุประสงคที่อยากทํา (Aspirational Objectives) เปาหมายในกลุมนี้สะทอนใหเห็นภาพที่ใหญกวา มีความเสี่ยงสูง กวา เปนเรื1องการเติบโตในอนาคตขององคกร วัตถุประสงคกลุมนี้ เกิดจากคนไหน หน4วยงานไหน ระดับไหนในองคกรก็ ได พูดงายๆ คือใครนําเสนอวัตถุประสงคประเภทนี้ขึ้นมาก็ ได วัตถุประสงคขอนี้ เมื1อกําหนดแลวจะตองระดมสรรพกําลังจากคนทัง้ องคกรมาชวยกัน เพราะถือเปนเรื1องที่ใหญมากๆ ยากมากๆ ทีจ่ ะทําใหสาํ เร็จไดเพียงคน บางสวนขององคกร ดังนัน้ วัตถุประสงคหรือเปาหมายประเภทนีโ้ ดย เฉลี่ยแลวจะลมเหลวประมาณ 40% ของเปาหมายในกลุมนี้ทั้งหมด เปาหมายประเภทนี้ถือเปนสวนหนึ่งของการทํางานของกูเกิลไปแลว สําหรับสัดสวนระหวาง OKRs สองประเภทวาองคกรควรจะให นํ้าหนักไปทางไหนมากกวากันนั้น องคกรจําเปนตองคํานึงถึงปจจัย หลายๆ ดาน เชน วัฒนธรรมองคกร สถานะของกิจการ เปาหมาย ในอนาคต ฯลฯ ดังนั้น ผูบริหารจึงจําเปนตองถามตนเองกอน เชน เราตองการทีจ่ ะเปนองคกรประเภทไหน องคกรทีป่ รับตัวเร็วกลาเสีย่ ง เพื1อเขาไปสูต ลาดใหม หรือเปนองคกรอนุรกั ษนยิ มและเนนการรักษา ผลประกอบการ องคกรของเราอยูในสถานการณไหน อยูในชวงทีเ่ อา ตัวใหรอดกอน หรือเราจะมีเงินสดในมือมากพอทีจ่ ะเสีย่ งเดิมพันครัง้ ใหญ รวมถึงตองถามตนเองวาอยากเปนอะไร อยากไดอะไรสําหรับ การดําเนินธุรกิจในปจจุบันและอนาคต
เราจําเปนตองสรางความทาทายแบบสุดๆ แอนดี้ โกรฟ คือคนหนึ่งที่ติดตามผลงานของ อับราฮัม มาสโลว นักจิตวิทยาในชวงกลางศตวรรษที่ยี่สิบที่เปนที่รูจักกันดีในเรื1อง “ลําดับขั้น ของความตองการ (Hierarchy of Needs)” สิ่งที่มาสโลวพูดไววา เราจะ
193
พอใจกับความตองการพืน้ ฐานทีเ่ พิม่ มากขึน้ เริม่ ตัง้ แตอาหารและทีอ่ ยูอ าศัย ถัดมาเปนเรื1องของความปลอดภัย ความรัก ความเปนเจาของ และเมื1อเรา ขึ้นสูแรงจูงใจที่มากขึ้น ในสวนบนของพีระมิดของมาสโลว เราจะตองการ เติมเต็มในศักยภาพของเราเอง รวมถึงความสมบูรณ ในชีวิต
ความ ตองการ ทางจิตวิญญาณ ความตองการ การยกยอง ความตองการความรัก และความผูกพัน ความตองการความปลอดภัย ความตองการทางรางกาย ลําดับขั้นความตองการของมาสโลว แสดงรูปเหมือนพีระมิด ที่แสดงถึงลําดับความตองการพื้นฐานที่มากกวาที่ฐานของพีระมิด
โกรฟรูส กึ ทึง่ มากทีพ่ บวา พนักงานบางคนจะถูกทดสอบขอจํากัดของ ขีดความสามารถอยูตลอดเวลาโดยไมรูตัว และเขาก็สามารถทําไดดีดวย พนักงานแบบนีถ้ อื เปนพนักงานในฝนของผูจ ดั การเลย เพราะพนักงานกลุม นี้เขาไมพอใจในตนเองมากนักยังอยากทําอะไรที่ยากๆ ขึ้นไปอีก แตโกรฟก็ เขาใจวาไมมีใครทีจ่ ะสามารถประสบความสําเร็จมาตัง้ แตเกิด ดังนัน้ การตัง้ เปาหมายทีท่ า ทายจึงเปนหนทางทีจ่ ะชวยกระตุน ใหคนทํางานนําเอาศักยภาพ ออกมาสรางผลงานไดมากที่สุด ดังนั้น ถาคุณตองการใหเกิดผลการดําเนิน งานทีก่ า วกระโดดทัง้ จากตัวคุณเองและจากทีมงานของคุณ การตัง้ เปาหมาย ที่ทาทายมากๆ คือสิ่งสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง
194
อินเทลเปนองคกรทีร่ วมเอาผูค นทีช่ อบความเสีย่ งไวเยอะ เปนองคกร ที่ผมไดเรียนรูถึงความทาทายและความกลาที่จะลมเหลว อยางเชน ปฏิบัติ การทําลายลาง (Operation Crush) ซึง่ เปนแผนงานทีถ่ า ไมสาํ เร็จก็ตาย และ เพื1อใหสามารถยึดครองตลาดไมโครโปรเซสเซอร 16 บิตใหได พนักงานขาย ของบริษัทจะถูกวัดผลงานจากจํานวนครั้งที่ผลิตภัณฑ (ไมโครโปรเซสเซอร 8086) ไดรับเลือกจากลูกคาไปใช ในการออกแบบผลิตภัณฑของเขา ภาย ใตการนําของ บิลล ดาวิโดว กองกําลังปฏิบัติการทําลายลาง (Crush) ได กําหนดเปาหมายที่ทาทายแบบสุดๆ เทาที่ผมเคยเห็นมา ผลิตภัณฑของเรา (ไมโครโปรเซสเซอร) จะตองไดรับเลือกจากลูกคาไปใช ในการออกแบบ (Design Win) ถึง 1,000 รายการภายในหนึ่งป ซึ่งมากกวาการขายเมื1อป ที่แลวถึง 50% และมันเกิดอะไรขึ้น เดฟ เฮาส ผูจัดการทั่วไปของไมโคร โปรเซสเซอร ไดยอนเวลาเลาใหฟงวา ทีน่ คี่ อื อินเทล คุณตองวัดมันได และผมคิดวาการที่ จิม แลลลี่ บอกวาผลิตภัณฑของเราตองไดรับเลือกไปใช ในการออกแบบถึง 1,000 รายการ ซึ่งตัวเลขนี้ ไมวาจะบิลลหรือ จิม... ตางก็มองวามัน เปนตัวเลขจํานวนมหาศาลทีเดียว จากนัน้ เราก็ ไดมาทําการวางแผน กัน สุดทาย ตัวเลขทีจ่ ะนําไปใหกบั ทีมขายในพืน้ ทีข่ องเราเพิม่ ขึน้ เปน 2,000 รายการที่เราตองไดรับเลือกจากลูกคา ตัวเลข 2,000 รายการ นั่นหมายถึงพนักงานขาย 1 คนจะตองขาย ไดอยางนอยเดือนละ 1 แบบตอหนึ่งผลิตภัณฑ ซึ่งฝายบริหารไดแจงไปยัง ผูแ ทนขายในพืน้ ที่ใหเพิม่ จํานวนของชิปที่ไมเปนทีน่ ยิ มอีก 3 เทา ทัง้ ๆ ทีล่ กู คา เดิมยังมีความกังวลกับผลิตภัณฑกลุม นีอ้ ยู พนักงานขายไดขอตอรองใหลด ตัวเลขลงมา แตก็ ไมเปนผล และนัน่ ก็เปนจุดเริม่ ตนในการเดินขึน้ สูย อดเขา เอเวอเรสตของพวกเขา เมื1อผมไดมีโอกาสถาม...บิลล ดาวิโดว เมื1อเร็วๆ นี้ เกีย่ วกับการตัง้ เปาหมายทีส่ งู ชันมากนี้ เขาตอบกลับมาวา ผมเลือกที่ 2,000
195
แบบ เพราะผมคิดวาเราจําเปนที่จะตองอยูที่จุดนั้นจริงๆ และมันก็เปนสิ่งที่ ชวยกระตุนความสนใจใหคนทั้งองคกรไดเปนอยางดี บริษัทใหรางวัลจูงใจกับตัวแทนพนักงานสองคน ถาทําไดตาม เปาหมาย ทั้งทีมจะไดเดินทางไปทองเที่ยวที่ตาฮิติ จากนั้น จิม แลลลี่ ก็ ได เพิ่มกติกาใหมเขามาเพื1อกดดันวา ถาคนในทีมหนึ่งคนลมเหลวไมสามารถ ทําไดตามเปาหมายที่กําหนดไว ทุกคนที่อยูในทีมนั้นก็จะไมไดไปทองเที่ยว ทั้งหมดเลย ในชวงเริ่มตน ตัวเลขการขายที่เกิดขึ้นไมเปนไปตามเปาหมาย ที่วางไวเลย จนกระทั่งฝายที่เกี่ยวของกับเปาหมายนี้ เริ่มไมสนใจเกี่ยวกับ หลักเกณฑของการที่ลูกคาจะเลือกผลิตภัณฑไปใช แตแลวในชวงฤดูรอน นั้น โบรชัวรตาฮิติแบบสี่สีก็ถูกสงไปยังตูจดหมายที่บานของพนักงานขาย ทุกคนอยางลึกลับ พอถึงไตรมาสที่สาม แรงกดดันสําหรับทีมที่ผลงานแยก็ กลับมาเพิ่มสูงขึ้นอยางมากอีกครั้ง และเมื1อถึงชวงสิน้ ป ก็พบวาผลิตภัณฑของเราไดถกู เลือกไปใช ในการ ออกแบบมากกวา 2,300 รายการ โดย 8086 ไดครองสวนแบงการตลาด สูงสุด ทําใหอนาคตของอินเทลมีความมัน่ คงมากขึน้ และทีมงานทัง้ หมดก็ ได ไปเทีย่ วตาฮิติ เปาหมายทีท่ า ทายนีช้ ว ยสรางความแตกตางใหเกิดขึน้ ไดจริงๆ
คัมภีร 10x (เติบโตสิบเทาหรือสิบเดง) หากจะเปรียบ แอนดี้ โกรฟ เหมือนกับเจาสํานักเปาหมายประเภท ที่อยากทํา (Aspirational OKRs) แลรรี่ เพจ ก็เปรียบไดเหมือนศิษยเอก ผูสืบทอดวิทยายุทธของสํานักนี้เลยก็วาได ซึ่งในวงการเทคโนโลยี กูเกิลถือ เปนตัวแทนของการสรางนวัตกรรมที่ไรพรมแดนและการเติบโตที่ไมหยุด ยั้ง เมื1อกลาวถึงเรื1องของวัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญ กูเกิลเองก็เปน ตัวอยางของการตั้งเปาหมายที่ทาทายมากๆ แบบกาวกระโดด ซึ่ง สตีเวน เลวี่ ไดเรียกสิ่งนี้วา “คัมภีร 10 เทา (10x)”
196
ลองคิดถึงกรณีของ Gmail ปญหาของระบบอีเมลกอนหนานั้นคือจะ มีพนื้ ที่ในการจัดเก็บคอนขางนอยเพียงแค 2-4 MB ผู ใชงานจะถูกบังคับให ตองไปลบอีเมลเกาๆ ออกกอน เพื1อใหมีที่วางสําหรับของใหมที่จะใสเขามา ที่เก็บเอกสาร (Archives) จึงเปนความฝนเลย ซึ่งในระหวางการพัฒนา Gmail ทางผูนําของกูเกิลไดเสนอวาใหมีที่จัดเก็บถึง 100 MB ซึ่งการทํา เชนนีถ้ อื เปนการอัพเกรดครัง้ ใหญทเี ดียวในตอนนัน้ แตแลวในป 2004 เมื1อ ผลิตภัณฑไดถูกนําออกเผยแพรสูสาธารณชน เปาหมายที่ขนาด 100 MB ไดตายและถูกลืมไปในทันที เนื1องจาก Gmail ได ใหพนื้ ที่ในการจัดเก็บขอมูล เต็มกิกะไบต ซึ่งมากกวาคูแขงถึง 500 เทา โดยผู ใชงานสามารถจัดเก็บ อีเมลไวไดตลอดเวลา จากเหตุการณนี้เห็นไดชัดเจนเลยวาการสื1อสารแบบ ดิจิทัลจะไมเหมือนเดิมอีกตอไป และนี่ก็ถือเปนเปาหมายที่ทาทายมากๆ (BHAG) Gmail ไมเพียงแต ปรับปรุงจากระบบเดิมที่มีอยูแลว แตยังไดนําเสนอรูปแบบใหม และสราง ความกดดันใหคแู ขงตองยกระดับเกมการแขงขันของพวกเขาใหเพิม่ ขึน้ 10 เทาดวย ซึ่งความคิดแบบ 10 เทาหรือ 10× นี้จะหาไดยากในอุตสาหกรรม อื1นๆ แลรรี่ เพจ เองก็มองวา แนวคิดนี้แสดงใหเห็นถึงความพยายามทําสิ่ง ทีค่ นอื1นคิดวาเปนไปไมได มากกวาทีจ่ ะมาทําอะไรทีเ่ ริม่ ตนจากโลกของความ เปนจริงที่มองเห็นแลววามีโอกาสเปนไปไดตั้งแตเริ่มตน สตีเวน เลวี่ อธิบายเพิ่มเติมในนิตยสาร Wired วา สิ่งที่ แลรรี่ เพจ มองคือ การพัฒนาใหเติบโตหรือเพิ่มขึ้น เพียง 10% หมายถึงการที่คุณทําในสิ่งที่เหมือนกับคนอื1นๆ เขาทํา กัน คุณอาจจะไมลมเหลว แตก็จะไมสามารถสรางความสําเร็จในวง กวางไดอยางแนนอน นัน่ จึงเปนเหตุผลที่ แลรรี่ เพจ คาดหวังใหกเู กิลไดสรางสรรค ผลิตภัณฑและบริการทีด่ กี วาคูแ ขงถึง 10 เทา นัน่ แสดงใหเห็นวาเขา
197
จะไมพอใจเลยถาพบวามีประสิทธิภาพบางอยางทีถ่ กู ซอนอยูห รือการ ปรับแตงโคดเพียงเพื1อใหมีอะไรดีขึ้นเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยเทานั้น เพราะการจะปรับปรุงใหดขี นึ้ ถึงหนึง่ พันเปอรเซ็นตไดนนั้ จําเปนทีจ่ ะ ตองมีการเปลี่ยนวิธีคิดแกปญหาแบบใหมๆ รวมถึงการคนหาความ เปนไปไดทางเทคนิค และใหสนุกไปกับไปกับการทํางานนั้นๆ ตลอด เวลาจนกวาจะบรรลุเปาหมาย ทีก่ เู กิลใชแนวทางเดียวกันกับมาตรฐานเกาของ แอนดี้ โกรฟ นัน่ คือ เปาหมายที่ทาทายมากๆ จะถูกกําหนดระดับของความสําเร็จไวที่ระดับ 60 ถึง 70% หรืออีกนัยหนึ่ง ผลการดําเนินงานจะถูกคาดหวังใหตํ่ากวาที่คาด หวังไวอยางนอย 30% และนั่นจะถือวาสําเร็จแลว
อีริก ชมิดต, แลรรี่ เพจ และ เซอรเกย บริน กับรถที่ขับเคลื1อน ดวยตนเองคันแรกของกูเกิล ในป 2011 การคิดสูการปฏิบัติแบบ 10x
198
ในกูเกิลจะมีการแบงปนความลมเหลวในเรื1องใหญๆ ดวย ตัง้ แตเรื1อง ของเฮลตเอาต (Helpouts) ไปจนถึงกูเกิลอานสเซอร (Google Answers) การทีก่ าํ หนดระดับความสําเร็จของเปาหมายไวที่ 70% จะชวยใหการเดินทาง ของเปาหมายไปสูด วงจันทรไดอยางสบายใจมากยิง่ ขึน้ และยินดีทจี่ ะเสีย่ งตอ ความลมเหลวในชวงแรกๆ ถาถามคนของกูเกิลจะพบวาไมมเี ปาหมายขอไหน เลยที่ดูเหมือนจะเปนไปได และคนของกูเกิลเองก็จะถูกกระตุนกดดันดวย คําถามโหดๆ แรงๆ เชน อะไรคือความเสี่ยง และผลกระทบอยางรุนแรง ที่จําเปนตองนํามาพิจารณากอน พวกเขาตองการหยุดทํางานอะไรลงบาง พวกเขาจะโยกยาย จัดสรรทรัพยากรตางๆ หรือจะหาพันธมิตรใหมไดจาก ที่ไหน อยางไรก็ตาม เมื1อถึงกําหนดเสนตาย เปาหมายที่ดูเหมือนจะเปนไป ไมได ในตอนแรกก็มีความคืบหนาขึ้นมาบาง และนั่นแหละถือวาเปนความ สําเร็จที่เกิดขึ้น
ตัวแปรของความทาทาย เพื1อใหเปาหมายที่ทาทายมากๆ ประสบความสําเร็จ การทํางานจะไม เหมือนการเดินทางทีย่ าวไกลอยางไรจดุ หมาย หรือการทีก่ าํ หนดจากทีส่ งู โดย ปราศจากความเปนจริงบนพื้นดิน การทาทายทีมงานของคุณที่เร็วไป และ ไกลเกินไปอาจทําใหเกิดความเสียหายได การพยายามบรรลุเปาหมายที่มี ความเสี่ยงสูง และตองใชความพยายามและความมุงมั่นของพนักงานสูง มากเชนกัน ดังนั้น ผูนําจะตองบริหารงานโดยคําถึงทั้งสองเรื1องควบคูกัน ไปคือ ผลลัพธที่สําคัญและความเชื1อที่วามันเปนไปได หากภารกิจมุงสูดวงจันทรของหน4วยงานในกูเกิลลมเหลว คนทํางาน ก็ยังรูวาพวกเขายังคงมีทรัพยากรและความชวยเหลือจากทีมงานอื1นๆ ใน กูเกิลอยู พูดงายๆ คือไมตองกลัวกูเกิลยังรับความเสี่ยงไดอีกเยอะ แตทั้งนี้ ทั้งนั้นก็ขึ้นอยูกับสถานะขององคกรในแตละชวงเวลาดวย พูดงายๆ ก็คือ
199
องคกรไหนทีส่ ามารถแบกรับความเสีย่ งไดมากกวา องคกรนัน้ มีโอกาสขยาย ตัวเติบโตแบบกาวกระโดดไดมากกวา เพราะแมภารกิจนั้นๆ จะลมเหลว ก็ยังรับไดไมเสียหายรายแรงอะไร ตัวอยางเชน ถามีจํานวน OKRs 100 เรื1อง สําเร็จแคเพียง 60 เรื1อง ลมเหลวไป 40 เรื1อง (อัตราความลมเหลว เทากับ 40%) ดูเหมือนวาอัตราความลมเหลวสูงมากอาจจะทําใหคนทํางาน หมดกําลังใจได โดยเฉพาะอยางยิ่งคนที่เปนพวกกระหายความสําเร็จหรือ คนประเภทตองสําเร็จ ลมเหลวไมได ผิดพลาดไมได อัตราความลมเหลว แบบนี้อาจจะทําใหขวัญและกําลังใจของคนกลุมนี้ลดลงหรือหมดกําลังใจ ได อยางทีบ่ ริษทั ริสกแมเนจเมนต โซลูชนั่ ซึง่ ตัง้ อยูในแคลิฟอรเนีย อมาเลีย เมอรริลล อดีตหัวหนางานทรัพยากรบุคคล กลาววา พนักงานของเราที่ “เปนมากกวาพนักงาน” บุคลากรที่นี่คุนเคยกับการไดรับเกรด A ไมเคย ไดเกรด B กันเลย ดังนั้น การทํางานตามเปาหมายแบบใหมที่แทบจะไมมี โอกาสได 100% เลยนัน้ ถือเปนเรื1องทีย่ ากและทาทายสําหรับผูน าํ มาก โดย เฉพาะเรื1องการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองคกร ที่มายฟตเนสพัล ไมค ลี ไดกําหนดให OKRs ทั้งหมด เปนเปาหมาย ที่ตองทํา (Committed Goals) เพียงอยางเดียว แตเปาหมายนี้ทั้งยากและ ทาทายอยูในตนเอง ทุกคนตองทําเปานี้ใหบรรลุเปาหมายใหได 100% เพราะ มันเปนเปาหมายที่ตองทํา ไมค ลี กลาววา “ผมพยายามที่จะกําหนดระดับ ผลงานที่มีโอกาสเปนไปได ในแบบที่ผมคิดวาควรจะเปน และถาเราทําทุก อยางไดตามเปาหมายหมดทุกเรื1อง ผมรูสึกดีกับความสําเร็จของเรา” นั่นก็ เปนวิธีการที่มีเหตุผล แตไมใชไมมีขอขอเสียเลย ถาผมถามวา พนักงาน ของไมคจะรูสึกละอายไหมที่ทําเพียง 90% ของเปาหมาย อยางไรก็ตาม ในมุมมองของผม ผมคิดวาถาผูนําตั้งเปาหมายที่ทาทายแบบไมโหดราย มากนักก็มีขอดีคือเมื1อเวลาผานไป ทีมงานและคนทํางานก็จะคุนเคยและมี ประสบการณกบั เรื1องนีม้ ากขึน้ สงผลใหผลลัพธทสี่ าํ คัญของ OKRs เพิม่ สูง ขึ้นๆ และ แมนยําขึ้นไดเหมือนกัน
200
จะเห็นไดวาการตั้งเปาหมายที่ทาทายไมมีกฎเกณฑอะไรตายตัว แต ควรจะพิจารณาจากประเด็นดังตอไปนี้ ทีมของคุณจะสรางคุณคาสูงสุดได อยางไร ถาคุณกําลังมองหาความสําเร็จที่ยิ่งใหญอะไรอยู ถาคุณกําลังมอง หาความสําเร็จที่ยิ่งใหญมากๆ อยู การตั้งเปาหมายแบบทาทายมากๆ ยาก แบบสุดๆ คือจุดเริ่มตนที่ยิ่งใหญ แตถาสิ่งเหลานี้ ไมไดมีความหมายอะไร สําหรับคุณละ แอนดี้ โกรฟ บอกไวชัดเจนวา “จงหยุดทํามันเถอะ” อยางที่รูๆ กันอยูวา ในธุรกิจของเรา เราตองมีการกําหนด วัตถุประสงคทที่ า ทายไมทาํ งานแบบสบายๆ แนๆ แตเมื1อเราสามารถ บรรลุตามเปาหมายทีต่ อ งการไดแลว เราอาจจะหยุดเฉลิมฉลองยินดี กับความสําเร็จกันสักเสี้ยววินาทีหนึ่ง แลวหลังจากนั้น เราก็ตองมา ตั้งเปาหมายกันใหมที่ยากขึ้นกวาเดิม และเราก็ตองทํามันใหสําเร็จ ดวย ซึ่งรางวัลของความสําเร็จกับเปาหมายที่ทาทาย ก็คือคุณตอง ทํามันใหไดอีกครั้ง อีกครั้ง และอีกครั้งนั่นเอง
201
13
เปาหมายที่ทาทายอยางมาก : เรื1องราวของกูเกิลโครม ซันดาร พิชัย CEO
แ
อสโทร เทลเลอร ผูนําของทีม Google X ที่รับผิดชอบในการพัฒนา โครงการลูน (Project Loon) และรถยนตทขี่ บั ดวยตนเอง (โครงการ ลูนคือ แนวคิดการกระจายสัญญาณไวไฟใหผคู นในสถานทีต่ า งๆ สามารถเขา ถึงโลกอินเทอรเน็ตไดอยางอิสระปราศจากขอผูกมัด) ไดอธิบายความหมาย ของคําวาเปาหมายทีท่ าทายอยางมาก (Stretch Goals) ไวอยางน7าสนใจวา “ถาคุณตองการใหรถของเราสามารถวิ่งได 50 ไมลตอนํ้ามัน 1 แกลลอน เปนเรื1องที่ทําไดไมยากอะไรเลย เพราะแคคุณปรับแตงอุปกรณบางอยาง เพียงเล็กนอยเทานั้นก็ทําไดแลว แตถาผมบอกคุณวารถรุนนี้มันตองวิ่งให ไดถึง 500 ไมลดวยนํ้ามันแคหนึ่งแกลลอน คุณตองเริ่มตนคิดใหมทั้งหมด เลยแน7ๆ” ในป 2008 ซันดาร พิชัย ซึ่งเปนรองประธานฝายพัฒนาผลิตภัณฑ ของกูเกิล ในขณะนั้นเปนชวงที่ซันดารและทีมงานของเขาไดมีการพัฒนา เบราวเซอร โครม (Chrome) ออกสูตลาด พวกเขาก็ ไดเริ่มตนคิดกันใหม ทั้งหมด เพื1อที่จะสรางความสําเร็จใหเกิดขึ้นโดยไมกลัวที่จะลมเหลว พวก เขาได ใช OKRs ในการสรางผลิตภัณฑและสรางความสําเร็จใหกับบริษัท ไดอยางน7าอัศจรรย ปจจุบันโครมไดกลายเปนเบราวเซอรที่ไดรับความนิยม
202
มากที่สุดทั้งบนแพลตฟอรม อุปกรณเคลื1อนที่ และบนเดสกท็อป ดังที่คุณ จะไดเห็นตอไปวากวาจะประสบความสําเร็จไดนั้นเขาเจอปญหาอุปสรรคมา ไมนอยเลย แตก็อยางที่ แลรรี่ เพจ ไดพูดไววา “ถาคุณกําหนดเปาหมายที่ บาคลัง่ และมีความทะเยอทะยาน ถึงคุณจะพลาดไป แตคณ ุ ก็ยงั ประสบความ สําเร็จบางอยางได” เปรียบเสมือนการตัง้ เปาหมายแบบมูนช็อต (Moonshot) (มูนช็อตคือ เปาหมายทีม่ คี วามทาทายสูงมาก เปรียบเสมือนการยิงจรวดขึน้ ไปยังดวงจันทร เพราะเมื1อคุณตั้งเปาจะไปใหถึงดวงจันทร ถึงแมคุณจะไป ไมถึง แตคุณก็ยังเอื้อมไปถึงดวงดาวได) เสนทางอาชีพของ ซันดาร พิชัย นับเปนตัวอยางหนึ่งของการตั้ง เปาหมายที่ทาทายอยางมาก ในเดือนตุลาคม 2015 ขณะที่เขาอายุ 43 ป เขาไดกลายมาเปน CEO คนทีส่ ามของกูเกิล และทุกวันนีเ้ ขาเปนหัวหนาของ องคกรทีม่ พี นักงานมากกวา 60,000 คน และมีรายไดถงึ 80,000 ลานเหรียญ
ซันดาร พิชัย : ผมเองเติบโตขึ้นมาในแถบอินเดียตอนใตชวงทศวรรษ 1980 ผมไมคอยไดมีโอกาสสัมผัสกับเทคโนโลยีเหมือนกับที่เราเห็นๆ กันในปจจุบัน แตสิ่งที่พวกเรามีกันนี้ ไดสรางผลกระทบอยางยิ่งตอชีวิต ของผมและคุณพอของผม คุณพอของผมทานเปนวิศวกรไฟฟา อยูใน เมืองเจนไนซึ่งเปนเมืองที่ใหญมาก แตเราก็มีความเปนอยูเหมือนกับคน ชั้นกลางทั่วไป สมัยนั้นการขอใช โทรศัพทแบบหมุน (rotary dial model) จะตองรอคิวกันสามถึงสี่ปทีเดียว ตอนที่ผมอายุ 12 ป ครอบครัวของเรา ก็ ได โทรศัพทรุนนี้มาใชเครื1องหนึ่ง ถือเปนเหตุการณที่ยิ่งใหญมาก และ เพื1อนบานตางก็พากันมาขอใช ผมจําไดวา ชีวิตของผมเปลี่ยนแปลงไปหลายๆ อยางจากการเขามา ของโทรศัพทเครื1องนี้ กอนหนานั้นแมของผมจะบอกเสมอวา “ชวยไปดูให หน7อยวาผลการตรวจเลือดทีโ่ รงพยาบาลออกหรือยัง” ผมก็จะตองนัง่ รถเมล ไปที่โรงพยาบาล และไปรอคิว ซึ่งบอยครั้งที่ผมไปแลวไดรับคําตอบกลับมา
203
วา “ผลยังไมออกมานะ พรุงนี้คอยมาใหมอีกครั้งแลวกัน” จากนั้นผมก็นั่ง รถเมลกลับมาที่บาน ซึ่งการเดินทางไปกลับนี้ใชเวลากวาสามชั่วโมง แตพอ ภายหลังมีโทรศัพท ผมก็แคโทร. ไปที่โรงพยาบาล และก็รับทราบผลตรวจ เลือดไดทนั ที ปจจุบนั เรามีเทคโนโลยีทที่ นั สมัยชวยทําใหชวี ติ เราดีขนึ้ ในทุกๆ วัน แตสาํ หรับผมแลวมีชว งเวลาทีเ่ ห็นการเปลีย่ นแปลงอยางชัดเจนทัง้ กอน และหลังซึ่งผมจะไมมีวันลืมมันอยางแน7นอน ผมอานหนังสือทุกเลมที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเซมิคอนดักเตอร ผมชอบอานหนังสือจนไมสามารถวางลงได ผมมีความฝนที่จะทําอะไรบาง อยางใหเกิดขึ้นที่ซิลิคอนวัลเลย ซึ่งนั่นหมายความวาเปาหมายผมคือจะ ตองเขาเรียนที่สแตนฟอรดใหได และที่นั่นก็กลายเปนสวนหนึ่งของการ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในเสนทางเดินของผม ผมคิดวาความฝนคือพลังทีย่ งิ่ ใหญ เพราะแมผมจะเริ่มตนจากเทคโนโลยีเพียงเล็กนอยที่เรามีในขณะนั้น แตมันก็เปนพลังขับเคลื1อนความฝนของผมไดมากเลยทีเดียว
แพลตฟอรมของแอพพลิเคชั่นใหม เปนเวลากวาหาปที่ผมทํางานอยูในแผนกวัสดุประยุกต (Applied Materials) ในเมืองซานตาคลารา ในตําแหน7งวิศวกรกระบวนการของ ฝายวิจัยและพัฒนา (R&D : Research & Development) ซึ่งบางครั้งผม จําเปนที่จะตองไปที่อินเทล และทันทีที่ผมกาวผานประตูเขาไป ผมไดสัมผัส ถึงวัฒนธรรมการทํางานในแบบฉบับของ แอนดี้ โกรฟ ไดเลย อินเทลจัด เปนบริษัทที่มีระเบียบวินัยและใสใจในรายละเอียดอยางมากดวย (ผมจําไม ไดแลววาตองจายเงินสําหรับกาแฟหรือเปลา) ในการทํางานดานวิศวกรรม กระบวนการผลิตเซมิคอนดักเตอร การตั้งเปาหมายตองเปนไปอยางเปน ระบบและมีระเบียบแบบแผน ซึ่งคุณตองพรอมทําทุกวิถีทางเพื1อไปใหถึง เปาหมายนัน้ ดังนัน้ การทํางานของผมในแผนกวัสดุประยุกตทาํ ใหผมสามารถ ตั้งเปาหมายไดอยางแมนยําและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
204
ในขณะที่อินเทอรเน็ตกําลังพัฒนาอยางตอเนื1อง ผมไดมองเห็น ศักยภาพที่ยิ่งใหญของมัน ผมอานและหลงใหลเกี่ยวกับทุกสิ่งที่กูเกิลกําลัง ทําอยูและรูสึกตื1นเตนเปนพิเศษ เมื1อตอนที่มีการเปดตัวผลิตภัณฑที่เรียก วาเดสกบาร ซึ่งจะชวยใหคุณสามารถคนหาเว็บตางๆ ไดจากวินโดวส โดย ไมตองไปเปดเบราวเซอร ซึ่งจะเปนหนาตางเล็กๆ ที่อยูตรงแถบงาน โดย มันจะอยูตรงนั้นเมื1อคุณตองการ เดสกบารเปนเครื1องมือแรกๆ ที่ชวยสราง การเติบโต และนํากูเกิลไปสูผูคนอีกมากมาย ผมไดเขารวมงานกับกูเกิลในฐานะผูจัดการผลิตภัณฑ ในป 2004 ซึ่ง เปนชวงทีบ่ ริษทั กําลังแกไขปญหาเกีย่ วกับเครื1องมือสําหรับการคนหา ในตอน นัน้ ถือเปนปของเว็บเวอรชนั่ 2.0 และการทีผ่ บู ริโภคหรือลูกคากลุม เปาหมาย ผลิตคอนเทนต (เนื้อหา) ดวยตนเองเพิ่มมากขึ้น รวมถึงการมาของ AJAX* เว็บในชวงตนจะเปนแพลตฟอรมดานเนื้อหามากกวา แตเมื1อเวลาผานไป มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยางรวดเร็วจนกลายมาเปนแพลตฟอรมดาน แอพพลิเคชั่น ซึ่งเรากําลังเขาสูจุดเริ่มตนของการปรับเปลี่ยนมุมมองเกี่ยว กับอินเทอรเน็ต และผมรูวากูเกิลจะกลายเปนหัวใจที่สําคัญของมัน งานแรกของผมที่ไดรบั มอบหมาย คือการเพิม่ ปริมาณการใชงานและ การเผยแพรกเู กิลทูลบาร (Google Toolbar) โดยการเพิม่ ลงไปในเบราวเซอร ใดก็ ได เพื1อนําผู ใชไปยังกูเกิลเสิรช ซึ่งเปนโครงการที่มาถูกที่ถูกเวลาจริงๆ เพราะในเวลาเพียงไมกปี่ เราสามารถเพิม่ ผู ใชงานทูลบารไดมากขึน้ ถึง 10 เทา (10x) และตอนนั้นเองที่ผมไดมีโอกาสเห็นพลังของการกําหนดเปาหมาย ของ OKRs ที่ทาทายอยางมากเปนครั้งแรก
* AJAX คือ โมดูลของเทคนิคการพัฒนาเว็บที่ทําใหผู ใชสามารถสื1อสารกับเซิรฟเวอรได โดยไมตอง โหลดหนาใหม หรือรีเฟรชเบราวเซอร
205
การคิดใหมทําใหมเกี่ยวกับเบราวเซอร หลังจากนั้น เราก็ ไดจะสรางสิ่งใหมๆ ขึ้นในกูเกิล เรามีทีมในการ สรางซอฟตแวรไคลเอนต (Client Software) เรามีคนทํางานที่เกี่ยวกับ ไฟรฟอกซ (Firefox) เพื1อทําการปรับปรุงเบราวเซอรของโมซิลลา (Mozilla) จนถึงป 2006 ที่เราเริ่มมองมุมใหมเกี่ยวกับเบราวเซอรวาเปนแพลตฟอรม คอมพิวเตอรทที่ าํ งานเกือบจะเหมือนกันกับระบบปฏิบตั กิ ารทีส่ ามารถชวยให ผู ใชงานเขียนแอพพลิเคชัน่ บนเว็บเองได ความเขาใจพืน้ ฐานนี้ ไดกอ ใหเกิด โครม (Chrome) ขึ้นมา และเราก็ตระหนักวา เราตองสรางสถาปตยกรรม มัลติโปรเซสเซอร หรือทีเ่ รียกกันวาสถาปตยกรรมแบบหลายซีพยี ู เพื1อทําให แตละแท็บมีกระบวนการทํางานที่เปนของตนเอง นอกจากนี้ระบบนี้จะชวย ปองกันไมใหระบบ Gmail ของผู ใชงานมีปญหากรณีที่แอพพลิเคชั่นอื1นๆ เกิดขัดของขึ้น ดังนั้น เราจะตองทําใหจาวาสคริปต (JavaScript) ทํางาน ไดเร็วมากขึ้น ถึงตอนนั้นเราก็จะพรอมที่จะสรางเบราวเซอรที่ดีที่สุดเทาที่ จะเปนไปได อีริก ชมิดต CEO ของเราก็รูวามันยากที่จะสรางเบราวเซอรขึ้นมา ใหม “ถาคุณจะทํามัน คุณจะตองจริงจังกับมันใหมากขึน้ ” ถาหากโครมนี้ไมได แตกตาง ไมไดดีกวา และเร็วกวาเบราวเซอรแบบเดิมที่มีอยูในทองตลาด อยางมากแลว ก็ ไมมีเหตุผลที่จะตองทํามันตอ ในป 2008 ป ซึ่งเปนปที่มีการเปดตัวโครม ทีมผูบริหารผลิตภัณฑ ของเราไดมกี ารกําหนดวัตถุประสงคประจําปของบริษทั ซึง่ มีผลอยางมากตอ อนาคตของกูเกิล นัน่ คือเพื1อ “พัฒนาแพลตฟอรมไคลเอนตรนุ ตอไปสําหรับ แอปพลิเคชั่นบนเว็บ” โดยมีผลลัพธหลักที่สําคัญคือ “โครมจะตองเขาถึง ผู ใชงานที่แอกทีฟในรอบสัปดาหถึง 20 ลานคน” (ผู ใชงานในรอบสัปดาห หมายถึงจํานวนผู ใช (Unique User) ที่ไมซํ้ากัน และแตละผู ใชตองเขามา ใชอยางนอย 1 ครั้งภายใน 7 วัน)
206
ยกระดับเปาหมายใหสูงขึ้น ในการนํา OKRs มาใช ในกูเกิล เราเขาใจกันดีวา ผลงานที่ได ในระดับ 70% (โดยเฉลีย่ ) จะถือวาเปนความสําเร็จแลว คุณไมจาํ เปนทีจ่ ะตองพยายาม ให OKRs ทุกขอทีก่ าํ หนดขึน้ มีผลงานเปนสีเขียวทัง้ หมดหรอก เพราะถาเปน แบบนัน้ มันคงไมทาํ ใหทมี ของคุณรูส กึ ทาทายอะไร ในความเปนจริงแลวบริษทั จางคุณมาก็เพื1อเขามาทํางานทีท่ า ทายใหสาํ เร็จ เพราะถาไมทา ทายคุณเองก็ คงไมอยากจะเขามาทํา และบริษัทเองก็คงไมจางคุณเขามาหรอก ในฐานะ ผูนําคุณคงไมตองการที่จะเห็นตนเองไปยืนอยูหนาบริษัทในชวงสิ้นสุด ไตรมาส พรอมกับสถานะผลงานทีเ่ ปนสีแดง (ลมเหลว) บนหนาจอมอนิเตอร ขนาดใหญ แลวคุณตองมาอธิบายถึงเหตุผลวางานของคุณลมเหลวไดอยางไร แรงกดดันและความอึดอัดใจกับประสบการณแบบนี้ ดังนั้น พวกเราทุกคน จะตองชวยกันทําทุกวิถที างเพื1อหลีกเลีย่ งการขึน้ ไปเจอสถานการณแบบนัน้ แตถงึ แมคณ ุ กําหนดวัตถุประสงคของทีมอยางถูกตองและดีแคไหน บางครัง้ มันก็หลีกเลี่ยงไมไดเหมือนกัน แลรรชี่ อบทีจ่ ะเพิม่ ความยากของเปาหมาย OKRs ของบริษทั ใหเพิม่ สูงขึ้น เขามักจะบอกกับผมเสมอวา เขาตองการใหคนที่กูเกิลรูสึก “ตื1นเตน กับสิ่งที่เปนไปไมได” เขาตองการใหคนของกูเกิลคิดวา “ไมตองไปสนใจวา ใครจะบอกวาเปนไปไมได เราจะตองทําใหมันเปนไปได คอยดูซิ” ซึ่งผมก็ พยายามทําแบบเดียวกันนี้กับทีมผลิตภัณฑ ซึ่งตองใชความกลาหาญอยาง มากในการเขียน OKRs ทีอ่ าจจะลมเหลว แตก็ ไมมที างอื1นใดถาเราตองการ ทีจ่ ะเยีย่ มยอด เราจึงดําเนินการวางเปาหมายสําหรับผู ใช ในรอบสัปดาหตอ ง ไมตํ่ากวา 20 ลานคนภายในสิ้นปนี้ โดยรูวานี่จะเปนชวงที่น7ากลัวอยางมาก เพราะเราเริ่มตนทุกอยางจากศูนย ในฐานะผูนํา คุณตองพยายามทาทายทีมงานของคุณ โดยไมทําให พวกเขารูสึกวาเปาหมายนั้นไมสามารถทําได โดยสวนตัวแลวแมผมคิด วาการบรรลุเปาหมายนัน้ แทบจะเปนไปไมได แตผมก็ตอ งคิดเสมอวา เราจะ
207
ตองทําใหทมี งานของเราใชความสามารถสูงสุดเทาทีเ่ ขามีเพื1อทําใหกา วขาม ขอจํากัดตางๆ ไปใหได ซึ่งการที่เรามีเปาหมาย OKRs ที่ทาทายนอกจาก จะชวยใหเราเดินไปถูกทิศถูกทางและเปนเครื1องมือบอกความกาวหนาของ เราแลว มันยังชวยใหทีมงานของเราทํางานอยางสนุกตื1นเตนกับเปาหมาย ที่ดูเหมือนจะเปนไปไมไดอีกดวย มันทําใหเราตองคิดทบทวนรูปแบบการ ทํางานที่เหมาะสมในทุกๆ วัน สรุปวาระบบ OKRs ชวยใหเราทํางานอยาง มีทิศทางที่ชัดเจนนั่นเอง ในชวงแรก โครมประสบความสําเร็จในการสรางสวนแบงตลาด ไดถึง 3% แตแลวเราก็ ไดรับขาวรายที่ไมคาดคิด นั่นคือ โครมเวอรชั่น ที่ใชกบั แมค มีแนวโนมทีจ่ ะออกสูต ลาดไดลา ชากวากําหนดการ นัน่ หมายความ วาจะมีเพียงผู ใชงานผานวินโดวสเทานั้นที่ถูกนํามานับอยูในเปาหมาย 20 ลานคน แตในขาวรายก็ยังมีขาวดีเกิดขึ้น นั่นคือคนที่ใช โครมชื1นชอบ และ มันถือเปนจุดเริ่มตนที่สงผลตอการเติบโตของโครมตอไปอยางมาก จากสิ่ง ที่เกิดขึ้น ยังทําใหเราไดรับรูถึงวิธีการใหมๆ ในการเพิ่มจํานวนผูเขาเยี่ยม ชมเว็บอีกดวย
การทํางานใหหนักขึ้นเพื1อผลลัพธที่ดีขึ้น กูเกิลใหความสําคัญอยางมากกับเรื1องของความเร็ว เราไดตอสูกับ ความลาชามาโดยตลอด โดยเฉพาะความลาชาในการถายโอนขอมูล ซึ่ง สงผลทําใหประสบการณ ในการใชงานของผู ใชงานลดระดับลง ในป 2008 แลรรี่ เพจ และ เซอรเกย บริน ไดเขียน OKRs ที่สวยหรูขึ้นมา ซึ่งสราง ความสนใจใหกับผูคนอยางมากวา “เราจะทําเว็บใหเร็วที่สุดเหมือนกับพลิก หนากระดาษของนิตยสาร” ซึง่ ไดสรางแรงบันดาลใจใหกบั ทุกคนในบริษทั ที่ จะตองชวยกันคิดใหมากขึ้นเกี่ยวกับวิธีการที่จะทําใหวัตถุประสงคขอนี้เปน จริงขึ้นมาใหได
208
สําหรับโครงการโครม เราไดมกี ารกําหนด KRs (Key Results) ยอยขึน้ ในการเพิม่ ความเร็วใหกบั จาวาสคริปต โดยมีเปาหมายคือ การทําใหแอปพลิเคชัน่ บนเว็บสามารถทํางานไดอยางราบรื1นเหมือนกับการดาวน โหลดบนเดสกทอ็ ป เรามีการตัง้ เปาหมายเปรียบไดกบั จะไปดวงจันทร ดวยการปรับปรุงใหมใหดขี นึ้ 10 เทา (10x) และตัง้ ชื1อโครงการนีว้ า “V8” ตามชื1อของเครื1องยนตสมรรถนะสูง ในรถยนต ซึง่ เราโชคดีมากที่ไดเจอกับโปรแกรมเมอรชาวเดนมารกชื1อ ลารส บาก ผูซึ่งสรางเครื1องจักรเสมือนจริง (Virtual Machine) ใหกับบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส และยังถือครองสิทธิบัตรไวมากกวาหนึ่งโหล (12 สิทธิบัตร) ลารสเปนหนึง่ ในศิลปนทีย่ งิ่ ใหญในสายงานของเขา เขามาหาเราและ บอกโดยไมถอ มตนเลยวา “ผมสามารถทําใหมนั ไดเร็วไดมากขึน้ ไดอกี ” ภายใน เวลาสี่เดือน เขาทําใหจาวาสคริปตทํางานไดเร็วขึ้นถึงสิบเทาเมื1อใชงานบน ไฟรฟอกซ และภายในสองป สามารถทําใหเร็วขึ้นไดมากกวา 20 เทา นับ เปนความกาวหนาอยางไมน7าเชื1อ (บางครั้งเปาหมายที่ทาทายก็อาจไมได สรางแรงบันดาลใจไดมากอยางที่ควรจะเปนก็ ได เหมือนกับที่ลารสไดบอก กับ สตีเวน เลวี่ ไว ในหนังสือ Plex วา ที่เปนเชนนี้ก็เพราะวา “เรามักจะ ประเมินตนเองตํ่ากวาสิ่งที่เราสามารถทําได” เปาหมาย OKRs ทีท่ า ทายมากๆ คือแบบฝกหัดทีเ่ ขมขนเกีย่ วกับการ ทุมเทเพื1อหาทางแกไขปญหา เมื1อเราผานเรื1องของทูลบารไปแลว ผมเริ่มมี แนวทางเปนของตนเองในการจัดการแกไขปญหาทีด่ เู หมือนจะไมมที างออก ผมพยายามดูแลและใสใจทีมเปนพิเศษเพื1อใหทุกคนมีขวัญและกําลังใจ ถาเราสูญเสียจํานวนผู ใชไป ผมจะบอกกับเขาวาลองดูใหมซิ ลองหาทางลอง ทําดูซิเพื1อจะไดรูวาเพราะอะไร แลวเราจะแกไขปญหาเรื1องนั้นไดอยางไร ถามีประเด็นปญหาเรื1องการเขากันไดของระบบ (Compatibility) ผมจะมอบ หมายใหทมี งานมุง เนนไปทีจ่ ดุ นัน้ ผมคิดวาถาเรามองอยางรอบดานและคิด อยางมีระบบโดยไมใชความรูส กึ ในการแกไขปญหา แนวทางนีม้ นั จะชวยเรา ไดเยอะเลยทีเดียว
209
กูเกิลถูกขับเคลื1อนดวยวัฒนธรรมของการมุงสูดวงจันทร ความ ทะเยอทะยานมากๆ และเปนเรื1องยากมากที่จะลงมือทํา ในทางตรงกันขาม ทีมงานของเราตระหนักดีวาความสําเร็จของโครมในทายที่สุดจะหมายถึง ผู ใชหลายรอยลานคน เมื1อใดก็ตามทีเ่ ราคิดคนสิง่ ใหมๆ ขึน้ ทีก่ เู กิล เรามักจะ คิดเสมอวา เราจะเพิ่มจํานวนผู ใช ใหเปนพันลานเทาไดอยางไร ในชวงเริ่ม ตนของกระบวนการ การเพิม่ จํานวนผู ใชมากมายขนาดนีด้ เู หมือนจะเปนการ เพอฝนเอามากๆ เลย แตเมื1อคุณมีการกําหนดวัตถุประสงคประจําปที่วัดได และแยกปญหานั้นออกมาเปนรายไตรมาส ภารกิจการมุงสูดวงจันทรก็จะมี ความเปนไปไดมากขึ้น นี่คือขอดีที่สุดอยางหนึ่งของ OKRs เพราะมันชวย ทําใหเห็นเปาหมายที่ชัดเจน สามารถวัดเปนตัวเลขระหวางทางได และนํา เราไปสูการกาวกระโดดอยางมีคุณภาพ ภายหลังจากที่เราลมเหลวกับเปาหมายที่ 20 ลานคนในป 2008 ทําใหเราตองกลับมาทํางานกันหนักขึ้น เราไมเคยยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง วัตถุประสงคเลย แตเราจะเปลี่ยนวิธีการทํางานของเรา และนี่คือสิ่งที่ผม พยายามสื1อสารกับคนในทีมงาน “ถึงเราจะไมบรรลุเปาหมาย แตเราก็ ได วางรากฐานที่สําคัญเพื1อที่จะกาวขามอุปสรรคนี้ และตอนนี้เราจําเปนที่จะ ตองทําอะไรบางอยางที่แตกตางออกไป” ในวัฒนธรรมของคนเกง คุณจะดี ขึน้ ไดถา มีคาํ ตอบทีด่ สี าํ หรับคําถามนัน้ ๆ คุณไมสามารถทีจ่ ะปลอยมันผานไป ได ในกรณีนี้ เราตองการทางออกสําหรับปญหาพืน้ ฐานขอหนึง่ นัน่ คือ ทําไม ผูคนถึงไมอยากลองใชเบราวเซอรตัวใหมนี้ และนัน่ เปนเหตุผลทีท่ าํ ใหเราเริม่ คนหาแนวทางใหมๆ ในการกระจาย ชองทางการใชงานโครมออกไป และเมื1อเราพบวามีคนทีย่ งั ไมเขาใจเกีย่ วกับ สิ่งที่เบราวเซอรสามารถทําได เราก็จะหันไปทําการตลาดผานทางโทรทัศน เพื1ออธิบายเรื1องนี้ ซึ่งโฆษณาของโครมนี้ ไดกลายเปนแคมเปญออฟไลนที่ ใหญที่สุดในประวัตศิ าสตรของบริษัท ผูคนยังจําไดถงึ คําวา “โซเฟยทีร่ ัก....”
210
ซึ่งเปนสมุดบันทึกดิจิทัลของพอเกี่ยวกับพัฒนาการการเติบโตของลูกสาว ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการใชงานที่งายดายจากเบราวเซอรของเราไปยัง แอพพลิเคชั่นบนเว็บที่หลากหลาย เชน จาก Gmail และยูทูบไปจนถึง กูเกิลแมปส และนั่นก็นําผูคนใหเขาสูอินเทอรเน็ตในรูปของแพลตฟอรม ที่เปนแอพพลิเคชั่นได
ลองผิด ลองถูก ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นในทันที ในป 2009 เรามีการกําหนด OKRs ทีท่ า ทายอีกหนึง่ ขอสําหรับโครม คือจํานวนผู ใชงานทีแ่ อกทีฟ คือตองเขามา ใชงานอยางนอยหนึ่งครั้งในรอบเจ็ดวัน (Seven-day Actives) ตองไมนอย กวา 50 ลานคน แตพอถึงสิ้นปผลลัพธก็ลมเหลวอีกครั้ง เพราะสิ้นปเรามี จํานวนผู ใชอยูที่ 38 ลานคนเทานั้น พอมาถึงป 2010 เราก็ยังไมหมดกําลัง ใจ ผมไดเสนอเปาหมายใหมผี ู ใชงานถึง 100 ลานคน ซึง่ แลรรเี่ ชื1อวาเราควร จะผลักดันใหหนักขึ้นไปอีก เขาบอกวาเปาหมายที่ผมตั้งขึ้นคิดเปนเพียงแค 10% ของผู ใชงานอินเทอรเน็ตบนโลกใบนี้ซึ่งมีกวา 1 พันลานคน แตผมก็ แยงไปวาตัวเลข 100 ลาน ในความเปนจริงเปนเปาหมายที่โหดมากแลวนะ แลรรี่และผมไดมีการกําหนด OKRs เอาไวที่ผู ใชงานจํานวน 111 ลานคน ซึ่งถือเปนเปาหมายที่ทาทายอยางมาก และเพื1อใหสามารถบรรลุ เปาหมายนี้ใหได เรารูด วี า จะตองมีการปรับปรุงแนวทางในการทําธุรกิจของ โครม โดยจะตองคิดถึงการเติบโตในรูปแบบใหมๆ เพิม่ ขึน้ อีกมากเลยทีเดียว และนี่ก็เปนอีกครั้งหนึ่งที่เราจะตองทําอะไรที่แตกตางไปจากเดิม เดือนกุมภาพันธ เราไดขยายขอตกลงกับผูรับจางผลิตชิ้นสวนหรือ อุปกรณ ใหกบั บริษทั ผูผ ลิตคอมพิวเตอร (Original Equipment Manufacturers : OEMs) เดือนมีนาคม เราไดออกแคมเปญการตลาดชื1อวา “Chrome Fast” เพื1อทําใหผลิตภัณฑของเราเปนที่รูจักเพิ่มขึ้นในตลาดของสหรัฐอเมริกา
211
เดือนพฤษภาคม เราไดมีการขยายกลุมผู ใชงานออกไปอีก โดยการ เปดตัวโครมสําหรับระบบปฏิบัติการ OS X และลีนุกซ (Linux) จนในที่สุด เบราวเซอรของเราก็ ไมไดเปนเพียงแคผลิตภัณฑที่ใชไดกับวินโดวสเทานั้น และเมื1อถึงไตรมาสที่สาม ผลลัพธก็ยังคงเปนที่น7ากังวล และเมื1อสิ้น สุดไตรมาสที่ 3 จํานวนผู ใชทั้งหมดของเราไดเพิ่มขึ้นจาก 87 ลานเปน 107 ลานคน และหลังจากนัน้ ไมนานเรามีผู ใชงานทีแ่ อกทีฟในรอบเจ็ดวันเพิม่ ขึน้ เปน 111 ลานคน ทําใหเราบรรลุเปาหมายในเรื1องนี้ ได ทุกวันนี้ เฉพาะบนมือถืออยางเดียว มีผู ใชงานโครมมากกวาหนึ่ง พันลานคน เราไมสามารถเขาถึงความสําเร็จนี้ ไดเลย หากไมมีวัตถุประสงค และผลลัพธที่สําคัญ ระบบ OKRs จึงเปนวิธีที่เราใช ในการคิดและทําใน ทุกๆ เรื1องในกูเกิล
ซันดารขณะนําเสนอโครมในงานประชุมนักพัฒนาซอฟตแวร I/O ของกูเกิล ในป 2013
212
กาวสูยุคพรมแดนของโลกใหม พอของผมทานมาจากยุคสมัยที่คอมพิวเตอรหมายถึงเมนเฟรมและ ทีมงานขนาดใหญ รวมถึงการตองมีผูดูแลระบบดวย ซึ่งเปนสิ่งที่เขาถึงได ยากและมีความซับซอน จนเมื1อตอนที่ผมทํางานกับโครม ผมก็ตระหนักดี วาสิ่งที่พอผมตองการคือวิธีงายๆ ในการใชเว็บ และผมเองก็หลงใหลใน ความเรียบงาย ซึง่ ประสบการณการใชงานของผู ใช จะตองมีความเรียบงาย และไมซับซอน ภายใตความสามารถทั้งหมดที่กูเกิลเสิรชสามารถทําได ผม ตองการสรางใหเกิดความเรียบงายและไมซบั ซอนในการใชงานเบราวเซอร ของเรา ไมวา คุณจะเปนเด็กนอยในอินเดีย หรือศาสตราจารย ในมหาวิทยาลัย สแตนฟอรดก็ตาม แคคุณมีคอมพิวเตอรและเชื1อมตอกับอินเทอรเน็ตได คุณก็สามารถใชงานเบราวเซอรของเราไดทันที และเมื1อนั้นประสบการณ ของคุณกับโครมก็จะกลายเปนที่เรื1องงายมาก* ในป 2008 เมื1อพอของผมเกษียณจากงาน ผมก็ ไดมอบเน็ตบุกให ทาน และแนะนําวิธีการใชงานโครมใหทาน แลวสิ่งที่น7าอัศจรรยก็เกิดขึ้น กับทาน เพราะความเปนเทคโนโลยีที่ดูใชงานยากคอยๆ จางหายไป พอผม สามารถทําทุกอยางทีต่ อ งการไดบนเว็บแอพพลิเคชัน่ ทีม่ อี ยูบ นเว็บ และเมื1อ ทานเขาสูเ บราวเซอร ทานไมเคยเปดแอพอื1นอีกเลย ทานไมเคยดาวน โหลด ซอฟตแวรอื1นอีกเลย ทานไดเขาไปอยูในโลกที่เรียบงายและแปลกใหมแลว
* ผมรูสึกวาตนเองโชคดีมากที่ไดมาทํางานกับโครม รวมถึงได ใชสํานักงานรวมกันกับ ไลนัส อัปสัน ซึ่งเปนหัวหนาทีมวิศวกรรม ทุกวันตอนเลิกงาน ผมไมอาจบอกไดเลยวาไลนัสกลับบานไปแลวหรือ ยัง เพราะโตะทํางานของเขาจะสะอาดอยูตลอดเวลา (ถาปากกาแทงหนึ่งของเขาวางผิดตําแหน7ง เขาจะรูทันทีวามีความผิดปกติเกิดขึ้น) ไลนัสมีความสนใจในเรื1องความเรียบงาย และเขาก็ ไดชวย เราทําให โครมมีการสรางประสบการณที่เรียบงายแบบไรรอยตอมาจนถึงปจจุบัน
213
ตัง้ แตแรกทีผ่ มทํางานทีก่ เู กิล ผมไดทาํ ใหเห็นวาจินตนาการเปนเรื1อง ทีส่ าํ คัญและจําเปนสําหรับการกาวขามไปยังพรมแดนของโลกยุคใหม จะเห็น ไดจากแถบเครื1องมือทูลบารไปจนถึงกูเกิลโครม คุณไมสามารถหยุดความ ทาทายนี้ ได ประสบการณที่เกิดขึ้นกับพอของผม ทําใหผมคิดไดวา เราจะ ทําอยางไร ถาเราตองการออกแบบระบบปฏิบตั กิ ารทีม่ คี วามเรียบงายและมี ความปลอดภัย โดยใชเบราวเซอร โครมเปนสวนติดตอผู ใชงาน และจะเกิด อะไรขึ้น หากเราสามารถสรางแล็บท็อปขึ้นมาในระบบปฏิบัติการดังกลาวนี้ นั่นจึงเปนที่มาของการพัฒนาโครมบุค (Chromebook) ที่สามารถเขาถึง แอพพลิเคชั่นทั้งหมดที่อยูในระบบคลาวดได โดยตรง แตสงิ่ เหลานีจ้ ะไมใชเปนเปาหมายทีท่ า ทายมากมายอะไรในวันขางหนา
214
14
เปาหมายที่ทาทายอยางมาก เรื1องราวของยูทูบ ซูซาน วอจซิกกี้ CEO
คริสโทส กูดโรว
รองประธานกรรมการดานวิศวกรรม
กู
เกิลเปนบริษทั ทีช่ อบตัง้ เปาหมายทีท่ า ทายมากๆ เสมอ ดังนัน้ ทัง้ บริษทั จึงเต็มไปดวยเปาหมายประเภทนีอ้ ยูเ ต็มไปหมด หากใครซักคนคอย บันทึกประวัติศาสตรกูเกิลแบบละเอียด จะเห็นเลยวา กูเกิลแทบไม เคยบรรลุความสําเร็จเลย ประวัติศาสตรฉบับนั้นคงมีแตเรื1องราวที่แหวงๆ และไมสมบูรณเทานั้น นอกจากกูเกิลแลวก็มียูทูบนี่แหละที่ตั้งเปาหมาย บาบิน่ แบบสุดๆ และยูทบู ไดแสดงใหเห็นวาสามารถเติบโตแบบกาวกระโดด ดวยพลังอํานาจของการตั้งเปาหมายที่ทาทายมากๆ ตามแนวคิดของระบบ OKRs เปนอยางไร นิตยสาร Time ระบุวา ซูซาน วอจซิกกี้ เปน “ผูหญิงที่ทรงอิทธิพล มากที่สุดคนหนึ่งในวงการอินเทอรเน็ต” แมวาเธอจะเปนพนักงานคนที่ 16 ก็จริง แตเธอมีบทบาทสําคัญมากมาตัง้ แตเริม่ กอตัง้ กูเกิล และเธอเปนผูจ ดั การ ฝายการตลาดคนแรกของบริษัท เดือนกันยายน ป 1998 ภายหลังจากที่ได มีการตัง้ กูเกิลขึน้ มา ซูซานไดปลอยเชาโรงรถของเธอในเมนโตพารกเพื1อใช เปนสํานักงานแหงแรกของบริษัท แปดปตอมาในขณะที่นักวิเคราะหพากัน สงสัยวายูทูบจะสามารถอยูรอดตอไปไดหรือไม เธอก็กลายมาเปนผูนําใน การโนมนาวใหคณะกรรมการบริษทั ของกูเกิลตัดสินใจเขาซือ้ กิจการนี้ ซูซาน เองมองวาวิดีโอออนไลนกําลังจะมาทําลายอุตสาหกรรมโทรทัศนตลอดไป
215
ซูซาน วอจซิกกี้ และโรงรถของเธอในเมนโทพารก ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของทุกอยาง
ป 2012 ยูทูบไดกลายมาเปนผูนําตลาดและเปนหนึ่งในแพลตฟอรม วิดีโอที่ใหญที่สุดในโลก แตดวยการสรางนวัตกรรมใหมๆ ที่ชะลอตัวลง เปรียบเสมือนกับการทีเ่ ราขับรถเร็วๆ แลวพอเราแตะเบรกความเร็วลดลงแลว โอกาสทีจ่ ะกลับมาเรงความเร็วใหเพิม่ ขึน้ อีกครัง้ ถือเปนเรื1องทีย่ าก ในตอนนัน้ ซูซานไดขึ้นเปนรองประธานอาวุโสฝายโฆษณาและการพาณิชยของกูเกิล เธอไดมสี ว นสําคัญในการสรางความสําเร็จดานรายไดหลักใหกบั กูเกิลถึงสอง เรื1อง นัน่ ก็คอื การทบทวนภาพลักษณของแอดเวิรด ส (AdWords) ใหมอกี ครัง้ และการสรางรายไดดวยวิธีการใหมๆ จากเว็บดวยแอดเซนส (AdSense) ในป 2014 ในฐานะ CEO คนใหมของยูทบู เธอก็ไดรบั เปาหมายทีท่ า ทาย ที่สุดเทาที่เคยมีมา นั่นคือ ภายในเวลาสี่ปเธอมีภารกิจที่จะตองทําใหมีคนดู ยูทูบถึงพันลานชั่วโมงในทุกๆ วัน เพื1อใหธุรกิจสามารถโตขึ้นไดสิบเทา ซูซานไมตองการเติบโตแบบไดอยางเสียอยาง เธออยากจะใหเติบโต ไปอยางมีคุณภาพและยั่งยืน ดังนั้น ซูซาน และ คริสโทส กูดโรว หัวหนา
216
ทีมวิศวกรรมของยูทูบ จึงไดยึดเอาแนวทางของระบบ OKRs เปนหลัก ในการชวยทําใหภารกิจที่สุดจะทาทายนี้บรรลุเปาหมายดวยการทํางานที่มี ระบบและแบบแผน เปาหมายที่ทาทายอยางมากมีสวนชวยใหองคกรมีความตื1นตัวและ มีชีวิตชีวามากขึ้น การทําอะไรอยางมีเหตุมีผล ทุกคนรักษาคํามั่นสัญญา มีการพัฒนาปรับปรุงการทํางานและการพัฒนาองคกร ทัง้ หมดนีค้ อื ปจจัยทีจ่ ะ ชวยใหทกุ คนมีความรูส กึ ถึงความสําคัญเรงดวนและจะชวยสรางผลประกอบ การทีด่ ีใหกบั องคกรไดเปนอยางดี ครัง้ หนึง่ ยูทบู เคยเปนบริษทั ทีต่ อ สูด นิ้ รน กับการทําธุรกิจวิดีโอบนเว็บที่เติบโตและเพิ่มจํานวนผู ใชงานไดมากกวา พันลานคนหรือเกือบๆ หนึ่งในสามของคนที่ใชอินเทอรเน็ตทั้งหมด โดย เว็บไซตนสี้ ามารถคนหาขอมูลไดมากกวา 70 ภาษาในกวา 80 ประเทศทัว่ โลก เฉพาะแพลตฟอรมโทรศัพทมือถือเพียงอยางเดียว ก็สามารถเขาถึงผูคน อายุระหวาง 18-49 ป ไดมากกวาเครือขายเคเบิลหรือเครือขายบรอดแคสต เสียอีก ไมมสี งิ่ ใดทีเ่ กิดขึน้ โดยบังเอิญ หรือเกิดจากความสามารถเฉพาะบุคคล ของใครคนหนึง่ แตมกั จะเกิดจากการทุม เททํางานอยางหนักเปนเวลาหลายป ตองใสใจกับทุกรายละเอียด รวมถึงการทําตามระบบ OKRs อยางมีวนิ ยั จึงจะ สามารถทําใหยทู บู บรรลุวตั ถุประสงคทที่ า ทายจนสุดเอือ้ มนี้ ได สิง่ แรกทีต่ อ ง ตีโจทย ใหแตกคือการรูวาอะไรคือสิ่งที่สําคัญ และจะวัดผลสิ่งนั้นไดอยางไร
ซูซาน วอจซิกกี้ : เมื1อฉันใหแลรรี่และเซอรเกยเชาโรงรถของฉันไป ตอนนั้นฉันยังไมมีความสนใจในตัวบริษัทกูเกิลเลย ฉันแคตองการใหพวก เขามีเงินมาจายคาเชา แตเมื1อฉันไดรูจักพวกเขามากขึ้น และรูวาพวกเขา คิดอยางไรเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ฉันเลยมีความคิดที่จะเริ่มทําบริษัทของตนเอง บาง แตฉันก็พบวาแลรรี่และเซอรเกยนVาจะทําไดดีกวา แลวเมื1อถึงวันที่
217
ระบบของกูเกิลเสิรชลมใชไมได ทําใหฉันทํางานของฉันไมได จึงคิดวานี่คือ เครื1องมือทีฉ่ นั ขาดมันไมไดเสียแลว เพราะถาไมมกี เู กิลเสิรช ฉันคงอยูไ มได นี่คือจุดที่ทําใหฉันคิดวามันเปนเรื1องที่สําคัญไมเฉพาะแคฉันเทานั้น แต มัน สําคัญสําหรับทุกๆ คนเลย ตอนที่ จอหน ดัวร เขามาพูดคุยกับพวกเราที่กูเกิลเกี่ยวกับ OKRs ในชวงฤดูใบไมรวงของป 1999 ฉันก็อยูและไดฟงเขาดวย ในชวงนั้นเรา เติบโตและขยายตัวขึ้นจากโรงรถของฉัน โดยเรายายไปยังเลขที่ 2400 เบยชอร ในเมานเทนวิว ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเปนโรงงานของซันไมโครซิสเต็มส อาคารทั้งหมดมีขนาดถึง 42,000 ตารางฟุต เราใชพื้นที่ในการดําเนินงาน ไมถึงครึ่งหนึง่ และใชพื้นทีอ่ ีกครึ่งหนึ่งไว ในการจัดประชุม OKRs และใชทํา กิจกรรมอื1นๆ ของพนักงาน ฉันจําไดวาจอหนอธิบายแนวความคิดนี้วา “มัน คือวัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญ” และถูกนํามาใชเปรียบเทียบกับการ บริหารทีมฟุตบอลเพื1อแสดงใหเห็นวา OKRs ถูกนํามาใชอยางไร วันหนึ่ง ขณะที่ฉันกําลังจัดไฟลงานอยู ฉันก็เจอแผนใส มันคือแผนพลาสติกใส สําหรับการนําเสนอผานเครื1องฉายแผนใสซึ่งนิยมในสมัยกอน และปจจุบัน ไมมีใครใชแลว ของจอหนโดยบังเอิญ คุณลองคิดดูแลวกันวาระบบนี้เกิด ขึ้นมานานแคไหนแลว ทัง้ แลรรแี่ ละเซอรเกยเปนผูฟ ง ทีด่ มี ากๆ ในสิง่ ทีจ่ อหนกําลังพูดใหพวก เขาฟง ฉันรูวาลึกๆ แลวพวกเขาอาจจะรูสึกไมเห็นดวยกับบางเรื1องที่จอหน อธิบาย แตพวกเขาก็ยังคงนั่งฟงอยางตั้งใจ เนื1องจากพวกเขาไมเคยมี ประสบการณการทํางานมากอนหรือไมเคยมีบริษัทของตนเองมากอน พอ จอหนบอกวา “นี่คือวิธีการที่จะชวยใหคุณสามารถดําเนินธุรกิจได โดยที่ สามารถวัดผลและติดตามผลไดเชนกัน” คําวาสามารถวัดผลไดนี่แหละ ทําใหแลรรี่และเซอรเกยรูสึกทึ่งมาก ยิ่งรูวาองคกรที่ประสบความสําเร็จที่ ยิ่งใหญอยางอินเทลใชระบบ OKRs ซึ่งเปนองคกรที่มีขนาดใหญมากเมื1อ เปรียบเทียบกับองคกรของเรา
218
จากประสบการณทกี่ เู กิลนี้ ฉันบอกไดเลยวา OKRs มีประโยชนอยาง มากสําหรับบริษทั ทีก่ าํ ลังเริม่ สรางวัฒนธรรมของตนเอง เมื1อคุณมีขนาดเล็ก และมีทรัพยากรที่จํากัด ยิ่งจําเปนอยางมากที่คุณจะตองกําหนดใหชัดเจน วาคุณจะไปที่ไหน คงไมแตกตางอะไรกับการเลี้ยงลูกที่เลี้ยงไปเรื1อยๆ โดย ไมมีเปาหมาย พอเขาโตขึ้นมาเปนวัยรุนแลวเราไปบอกเขาวา “เอาละ นี่คือ กฎที่ลูกตองทําตามนะ” มันก็จะกลายเปนเรื1องยากทันที ถาเปนไปไดการนํา เอาระบบนีเ้ ขาไปใชตงั้ แตครัง้ แรกจะดีมากๆ ในขณะเดียวกันฉันก็เห็นบริษทั หลายๆ แหงที่เติบโตแลวก็ยังนําเอาระบบนี้เขาไปใชอยู นั่นแสดงใหเห็นวา การนําเอาระบบตางๆ รวมถึงระบบ OKRs เขามาใช ในองคกรไมมีคําวาเร็ว เกินไปหรือสายเกินไป การนํา OKRs มาใชจะตองมีการจัดการที่ดี ผูนําสูงสุดตองยอมรับ ในกระบวนการนี้ และตองมีผูรับผิดชอบอยางชัดเจนในทุกขั้นตอน ตลอด ไปจนถึงการใหคะแนนและการประเมินเพื1อทบทวนระบบ ตอนที่ฉันเขาไป นําเสนอ OKRs ของฉันตอแลรรี่ ฉันนั่งอยูในหองประชุมกวา 4 ชั่วโมงรวม กับทีมผูบ ริหารของเขา แลรรี่ไดแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับวัตถุประสงคของ บริษัทในทุกๆ ขอ และเขาเปดโอกาสใหทุกคนถกเถียงและแสดงความคิด เห็นได ทั้งนี้เพื1อใหมั่นใจวาทุกคนเขาใจและยอมรับวัตถุประสงคของบริษัท โดยไมมีขอสงสัยใดๆ โดยปกติแลวระบบ OKRs ของกูเกิล เปาหมายจะถูกกําหนดจากบน ลงลาง แตก็ เปดโอกาสใหผูบริหารที่เกงและผูเชี่ยวชาญในแตละดานรวม กันแสดงความคิดเห็นเพื1อกําหนดผลลัพธทสี่ าํ คัญ และสามารถตอบคําถาม ตางๆ ได เชน นี่คือทิศทางที่เราจะมุงไปใชไหม ไหนคุณลองบอกซิวาเราจะ ไปถึงเปาหมายนั้นไดอยางไร ซึ่งจากการประชุมที่ยาวนานนี้ชวยใหแลรรี่ สามารถเนนยํ้าถึงสิ่งที่เขาสนใจพรอมกับระบายความผิดหวังของเขา โดย เฉพาะอยางยิ่งกับการใหบริการบนผลิตภัณฑของเรา เขามักพูดวา “ชวย บอกความเร็วในขณะนี้ของคุณใหผมหนVอย” แลว “ทําไมคุณถึงไมทําใหมัน เร็วขึ้นโดยการลดเวลาลงสักครึ่งหนึ่งละ”
219
ถึงแมวากูเกิลจะมีขนาดใหญขนึ้ มีผคู นทีห่ ลากหลายมากขึน้ มีความ ยุง ยากตอการสื1อสารกับทุกคนมากขึน้ ก็ตาม แตเรายังคงดําเนินการประชุม OKRs ระดับองคกรรายไตรมาสโดยการถายทอดผานวิดีโอ (Videocast) ซาลาร คาแมนการ ซึ่งเปนอดีต CEO ของยูทูบกอนที่ฉันจะมาทําหนาที่นี้ เธอได ใชระบบ OKRs สรางผลงานที่ยอดเยี่ยมและนVาทึ่งไวมากมายหลาย อยางเลยทีเดียว แตทกุ อยางทีพ่ ดู คุยกันนัน้ มักจะเกิดขึน้ แคเพียงในทีมงาน ภายในของยูทูบเทานั้น แตตอนนี้คุณสามารถเห็น OKRs ของเราแบบ เรียลไทมไดทั้งในหนาเพจของบริษัทและหนาเพจของอินทราเน็ตกูเกิล ซึ่ง คนที่เกี่ยวของสามารถเขาถึงและทบทวนไดตลอดเวลา
ถาคุณไมสามารถเอาชนะมันได... ก็เอามาเปนพวกเดียวกันเสียเลย กูเกิลวิ ดีโอซึ่ งเป นเว็บไซตสํา หรับ การแบง ปนวิ ดี โอฟรีข องเรา ไดเปดตัวในป 2005 หนึ่งเดือนกอนยูทูบเมื1อฉันเริ่มใชงาน คลิปแรกที่เรา อัปโหลดสําหรับผู ใชงานก็คือ มัพเพตสีมวงที่รองเพลงไรสาระ (ผูเขียน พยายามบอกถึงวิดโี อแรกทีน่ าํ ขึน้ ในระบบนัน้ ดูไรสาระและไมจริงจัง) เซอรเกย และฉันไมแนVใจวาเราจะทําอยางไรกันตอดี แตแลวบรรดาลูกๆ ของฉันก็ ตะโกนวา “ชวยเลนมันอีกครั้ง!” ทันใดนั้นเอง ความคิดบางอยางก็แวบ ขึ้นมาในหัว เรามองเห็นโอกาสใหมๆ ซึ่งถือเปนวิธีใหมสําหรับผูคนในการ สรางวิดีโอเพื1อนํามาเผยแพรไปทั่วโลก จากนั้นเราเริ่มสรางระบบเชื1อมตอ การใชงาน (Interface) และเราก็ ไดวิดีโอสุดฮิตซึ่งสรางความประหลาดใจ ใหเราอยางมาก เมื1อมีเด็กสองคนรองเพลงของวงแบ็คสตรีตบอยในหอง พักภายในหอพักของพวกเขาเอง โดยมีเพื1อนรวมชั้นเรียนเปนฉากหลัง จะเห็นไดวาแมวาเราจะมีการทําวิดีโอในระดับมืออาชีพ แตวาวิดีโอที่สราง จากเนื้อหาของผู ใชกลับทําออกมาไดดีกวาอยางเห็นไดชัด
220
สําหรับขอบกพรองหลักๆ ที่พบบนกูเกิลวิดีโอก็คือความลาชาในการ อัปโหลด ซึ่งขัดแยงกับกฎของการพัฒนาผลิตภัณฑของบริษัทที่จะตอง ทําใหรวดเร็ว วิดโี อทีผ่ ู ใชงานอัปโหลดขึน้ บนกูเกิลวิดโี อไมสามารถดูไดทนั ที ในขณะที่ยูทูบกลับทําได จึงเปนปญหาใหญสําหรับเรา และมันถึงเวลาแลว ที่เราจะตองแกไขปญหานี้อยางเรงดวน เพราะเราไดสูญเสียสวนแบงการ ตลาดที่สําคัญไป อีกดานหนึ่งถึงแมวายูทูบจะมีวิดีโอมากกวาเราถึง 3 เทา แตพวกเขาก็กําลังดิ้นรนแกปญหาทางดานการเงินอยู ดวยความตองการ ใชงานที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหพวกเขาตองการเงินทุนอยางมากเพื1อ นํามาลงทุนโครงสรางพื้นฐาน ดังนั้น เห็นไดชัดเลยวาพวกเขาอาจจําเปน จะตองขายบริษัทนี้ออกไป ฉันมองเห็นโอกาสในการควบรวมกิจการทัง้ สองเขาดวยกัน โดยฉันได คํานวณตัวเลขทุกอยางในการตัดสินใจเสนอซือ้ ในราคา 1.65 พันลานเหรียญ เพื1อแสดงใหทงั้ แลรรแี่ ละเซอรเกยเชื1อวากูเกิลสามารถสรางรายไดกลับคืน มาได และในขั้นตอนสุดทายทางผูกอตั้งทั้งสองคนไดขอใหฉันนําเรื1องนี้เขา ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริหารบริษทั ซึง่ ถึงแมจะมีคาํ ถามขอสงสัยมากมาย ก็ตาม แตสุดทายคณะกรรมการก็เปดไฟเขียวใหกับเรา แมวาพวกเขาจะไม ไดเชื1อในสมมติฐานทัง้ หมดของฉันทีเ่ กีย่ วกับการเติบโตของผู ใชงานในแตละ ป แตกเ็ ปนเรื1องตลกมากทีห่ ลังจากนัน้ ยูทบู มีการเติบโตอยางรวดเร็วและตอ เนื1องมาจนถึงทุกวันนี้
การจัดลําดับความสําคัญ คริสโทส กูดโรว : ในเดือนกุมภาพันธ ป 2011 ตอนที่ผมยายมาจาก แผนกคนหาผลิตภัณฑของกูเกิล กอนที่ซูซานจะเขามารวมทีมกับเรา เรา ไดมีการนํา OKRs เขามาใช ในยูทูบแลว ตอนนั้นบริษัทมีพนักงานกวาแปด รอยคน และในแตละไตรมาสจะมีหัวขอหรือรายการของ OKRs หลาย รอยรายการ ทางทีมงานจึงตองเปดกูเกิลดอค (Google Doc) เพื1อพิมพ
221
วัตถุประสงคลงไป สุดทายพออัด OKRs ไปมากๆ เขา ก็กลายเปนวาแตละ ทีมเจอเปาหมายเขาไป 30-40 ขอ แตทําไดถึงเปาหมายไมถึงครึ่งหนึ่งของ ที่ระบุไว บรรดาวิศวกรมักติดปญหาในการตั้งเปาหมายอยู 2 ขอคือ เปนคนที่ เกลียดการฆาไอเดียทีต่ นเองคิดวาดีทงิ้ ไป และเปนคนทีป่ ระเมินเวลาในการ ทํางานตํา่ กวาความเปนจริง ผมเคยผานสิง่ เหลานีม้ าแลวตอนอยูแ ผนกคนหา ผลิตภัณฑ (Product Search) ซึ่งพวกเขามักพูดกันเสมอวา “แนVนอน ฉัน เปนคนเกง ฉันสามารถทําไดมากขึ้นกวานี้” ดังนั้น จําเปนที่จะตองใชความ อดทนและความมีวนิ ยั ทีส่ งู มากเพื1อใหเขาเลือกวัตถุประสงคออกมาแคสาม หรือสี่เรื1องเทานั้น ซึ่งแนวทางนี้ ไดสรางความแตกตางใหเกิดขึ้นไดอยาง มาก ระบบ OKRs ของเราเริ่มมีความกระชับและชัดเจนมากขึ้น ทุกคนรู ดีวาอะไรสําคัญมากที่สุดสําหรับพวกเรา และหลังจากที่ผมไดเขามารับผิด ชอบหนVวยงานดานการเสิรช หาผลิตภัณฑทยี่ ทู บู มันก็สามารถนําเอาแนวทาง เดียวกันนี้มาใชไดเชนกัน ตอนที่ ซาลาร คาแมนการ ไดมอบหมายการดูแลงานประจําวันดาน เทคโนโลยีของยูทบู ใหกบั ชิเชียร เมห โรตรา และชิเชียรก็ ไดนาํ แนวคิดเรื1อง การใหความสําคัญมาใชทวั่ ทัง้ บริษทั เขาไดเปรียบเทียบกับทฤษฎีหนิ กอนใหญ (Big Rocks Theory) ที่ สตีเฟน โควีย่ มักจะกลาวถึงบอยๆ โดยสมมติวา ถา คุณมีหนิ กรวด และทรายจํานวนหนึง่ โดยทีเ่ ปาหมายของคุณคือใสทกุ อยาง ใหลงไปใหมากทีส่ ดุ ในโถนํา้ ขนาดหนึง่ แกลลอน ถาคุณเริม่ ตนดวยทรายและ ตามดวยกอนกรวด โถนํา้ นัน้ จะไมสามารถใสกอ นหินลงไปไดทงั้ หมด แตเมื1อ คุณเริ่มตนดวยกอนหิน แลวคอยใสกอนกรวดเขาไป จากนั้นจึงใสทรายเปน ลําดับสุดทาย ทรายจะเขาไปเติมชองวางระหวางหินจนทุกอยางลงตัวพอดี สรุปก็คือ สิ่งทีส่ ําคัญทีส่ ุดจะตองทํากอน ถาเก็บไวทีหลังก็ ไมมีทางทําไดเลย
222
แลวกอนหินขนาดใหญของยูทูบมีอะไรบางละ แตละคนทําแตงาน ของตนเอง มีความคิดใหมๆ ผุดขึ้นมาเต็มไปหมด ไมมีใครระบุไดวา OKRs ของบริษัทคืออะไร ขณะที่ผูนําองคกรกลาววา “ความคิดทั้งหมดของพวก คุณยอดเยีย่ มมากเลย แตพวกเราระบุไดไหมวาอะไรเปนกอนหินขนาดใหญ ของพวกเราสําหรับไตรมาสนีห้ รือสําหรับปน”ี้ หลังจากนัน้ เมื1อทุกคนในยูทบู ไดรบั รูถ งึ สิง่ ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ขององคกรแลว กอนหินขนาดใหญทงั้ หมดก็ถกู นํา ไปใสไว ในโถนํ้า นั่นเปนยางกาวที่สําคัญในการมุงไปสูเปาหมายที่ทาทายมากๆ ซึ่งได กลายมาเปนสวนหนึ่งของชีวิตผมไปอีกสี่ปขางหนา
ตัววัดที่ดีกวา ยูทบู สามารถคนพบวิธที จี่ ะสรางรายได แตกย็ งั ไมแนVใจวาจะเพิม่ จํานวน ของผูชมไดอยางไร แตเราโชคดีที่มีวิศวกรคนหนึ่งของกลุมวิจัยของกูเกิล ไดนําเสนอแนวคิดที่นVาสนใจออกมา ในทีมที่ชื1อซีบิล ซึ่ง จิม แมคแฟดเดน กําลังพัฒนาระบบสําหรับการเลือก “คําแนะนําสําหรับการดูตอไป (Watch Next)” กับวิดีโอที่เกี่ยวของหรือ “แนะนํา (Recommendation)” ซึ่งระบบ นีม้ ศี กั ยภาพมากพอทีจ่ ะชวยเพิม่ จํานวนยอดผูเ ยีย่ มชมในภาพรวมของยูทบู ของเรา แตอยากจะถามวาจํานวนผูชมคือสิ่งทีเ่ ราอยากจะเพิ่มจริงๆ ใชไหม ในฐานะ CEO ของไมโครซอฟต สัตยา นาเดลลา ไดชี้ใหเห็นวา ในโลกที่ความสามารถในการคํานวณเกือบจะไรขดี จํากัด แตสงิ่ ทีข่ าดแคลน อยางแทจริงนั้นกลับกลายเปนความสนใจของมนุษยที่เพิ่มมากขึ้น เมื1อผู ใช งานได ใชเวลาทีม่ คี า ไปกับการรับชมวิดโี อจากยูทบู มากขึน้ พวกเขาจะมีความ สุขที่มากขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได และเมื1อผูชมมีความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้น (จากเวลาและจํานวนครัง้ ทีด่ )ู จะทําใหเกิดการโฆษณาเพิม่ มากขึน้ ดวย สงผล ไปถึงการกระตุนใหมีผูผลิตเนื้อหา (Content) เพิ่มมากขึ้น เมื1อเนื้อหาเพิ่ม มากขึ้นคนก็เขามาชมเพิ่มขึ้นอีก นี่คือวงจรที่ดีสําหรับยูทูบ
223
จะเห็นไดวารายไดที่แทจริงของเรา ไมไดมาจากจํานวนครั้งของการ ชมหรือการกดปุมคลิก แตมาจากเวลาที่ใช ในการชม ดังนั้น จําเปนอยางยิ่ง ที่ยูทูบจะตองมีการกําหนดตัววัดที่สําคัญใหม
แคเวลาเทานั้นที่เราสนใจ ในเดือนกันยายน 2011 ผมไดสงอีเมลไปหาเจานายและทีมผูบริหาร ของยูทูบ โดยใชหัวเรื1องวา “แคเวลาเทานั้นที่เราสนใจ” ซึ่งเราเรียกวามุม มองใหมในการวัดความสําเร็จ โดยเปาหมายของเราคือ การเพิ่มเวลาใน การชมวิดโี อ สําหรับคนสวนใหญในกูเกิลอาจจะมองวามันเปนความคิดที่ไม เขาทาเพราะระบบคนหาของกูเกิลไดถูกออกแบบมาใหทําหนาที่เปนสวิตช บอรด เพื1อนําคุณออกจากที่หนึ่งไปยังสถานที่ที่ดีที่สุดที่คุณตองการใหเร็ว ที่สุดเทาที่เปนไปได ดังนั้น การเพิ่มเวลาในการชมจึงเปนสิ่งที่ขัดแยงกับ จุดมุงหมายหลักของกูเกิล นอกจากนั้นเวลาในการชมจะขัดแยงกับจํานวน ครัง้ ของการรับชม สองเรื1องนีถ้ อื เปนตัวชีว้ ดั ทีส่ าํ คัญสําหรับผูพ ฒ ั นาเนือ้ หา วิดีโอกับผู ใชงาน และสุดทายที่สําคัญคือ ความเหมาะสมระหวางเวลาที่ใช ในการโฆษณาและสรางรายไดที่ตองการ สําหรับเวลาที่จะนํามาใช ในการ โฆษณาคือเวลากอนทีจ่ ะเริม่ เขาเนือ้ หาของวิดโี อ ถาเวลาโฆษณานอย รายได ก็นอยตามไปดวย (แตในปจจุบันยูทูบไดมีการเพิ่มเวลาโฆษณาไว ในชวง กลางๆ ของวิดีโอดวย) ขอโตแยงของผมก็คือ กูเกิลกับยูทูบมีความแตกตางกัน และเพื1อให เกิดทางออกที่ลงตัวที่สุดเทาที่จะเปนได ผมไดทําการศึกษาโดยทดลองให ผู ใชงานเขาไปที่ยูทูบ และคนหาโดยพิมพคําวา “ผมจะผูกเนคไทอยางไร” ปรากฏวาผลของการคนหาพบวาเรามีวิดีโอสองเรื1องที่เกี่ยวกับหัวขอนี้ วิดีโอแรกจะมีความยาวแค 1 นาที แนะนําเทคนิคการผูกเนคไทไดอยาง งายๆ และรวดเร็ว สวนวิดโี อทีส่ องจะมีความยาวกวาสิบนาที ซึง่ เต็มไปดวย
224
เรื1องตลกและความบันเทิง ผมไดถามเพื1อนรวมงานวา วิดีโอไหนที่ควรได รับการจัดอันดับใหเปนผลลัพธของการคนหาเปนลําดับแรก ถาเปนคนทีท่ ํางานทีก่ ูเกิลเสิรช ก็จะไดคําตอบโดยงายเลยวา “วิดีโอ แรกแนVนอนถาคนเขามาใชยทู บู เพื1อหาวิธกี ารผูกเนคไท เราก็พรอมทีจ่ ะชวย ใหเขาสามารถผูกเนคไทใหได” แตผมตอบกลับไปวา “ผมตองการแสดงวิดโี อชุดทีส่ องใหกบั พวกเขา” เปนเรื1องปกติที่คนที่ทํางานเกี่ยวกับการคนหา (เสิรช) จะสงสัยวา ทําไมคุณถึงคิดแบบนี้ ในเมื1อคนเหลานี้เขาแคตองการที่จะผูกเนคไทเพื1อ ไปออกงานเทานั้น (พวกเขาอาจจะคิดวาผูชายคนนี้ตองบาแนVๆ) วิดีโอแรก มันดีสําหรับผูชมก็จริง แตนั่นไมใชภารกิจของยูทูบ ไมใชสิ่งที่เราตองการ ภารกิจของเราคือการทําใหคนมีสวนรวม และอยูกับวิดีโอของเราอยางมี ความสุข โดยคํานิยามแลว เราอยากใหผชู มมีความสุขกับการดูวดิ โี อ 7 นาที จากวิดโี อทีม่ คี วามยาว 10 นาที หรือแมจะดูแค 2 นาทีจากวิดโี อทีม่ คี วามยาว 10 นาทีมากกวาการดูวิดีโอที่มีความยาวเพียง 1 นาทีจนจบ และถาผูชมมี ความสุข เราก็มีความสุขไปดวย ความคิดนีต้ อ งใชเวลากวาหกเดือนจึงจะสามารถพิสจู นไดวา มุมมอง ของผมถูกตอง ในชวงกลางเดือนมีนาคม 2012 เราไดออกเวอรชนั่ ทีป่ รับเวลา ในการชมใหเหมาะสมตามขอเสนอแนะ โดยมีจุดมุงหมายที่จะพัฒนาระดับ ความผูกพันและความพึงพอใจของผู ใชงานใหสูงขึ้น จากการเปลี่ยนแปลง ใหมนี้ ไดทําใหยูทูบกลายเปนแพลตฟอรมที่ใชงานไดงายขึ้น โดยเฉพาะกับ วิดีโอที่เกี่ยวกับเพลง ความบันเทิง และการอธิบายขั้นตอนการใชงานสิ่ง ตางๆ รวมถึงคลิปตลกขบขันอีกดวย
225
ตัวเลขกลมๆ เดือนพฤศจิกายน 2012 ในที่ประชุมประจําปของสุดยอดผูนําของ ยูทูบในลอสแอนเจลิส ซิเชียร ไดเรียกพวกเรามารวมตัวกันและบอกวา เขากําลังจะประกาศเปาหมายที่ทาทายมากๆ สําหรับปใหมที่กําลังจะมาถึง นัน่ คือเวลาในการชมของผูช มหนึง่ 1 พันลานชัว่ โมงตอวัน (เปนคําเรียบงาย ทีม่ พี ลัง และงายๆ ดวยตัวเลขกลมๆ) เขาถามเราวา “เมื1อไหรเราจะทําแบบ นี้ ได กรอบเวลาคืออะไร” พันลานชั่วโมง นั่นหมายถึงเราตองเพิ่มขึ้นถึง 10 เทา (10x) และเรารูว า มันตองใชเวลาหลายปไมใชแคหลายเดือน เราคิดวาป 2015 นVาจะเร็วเกินไป และป 2017 คิดวาไกลไปหนVอยและเลขไมคอยสวย อาจจะจํายากหนVอย กอนที่ซิเชียรจะขึ้นเวที เราไดสรุปกันวาเวลาที่กําหนด คือสิ้นป 2016 โดยเปน OKRs ระยะเวลา 4 ป ที่จะมีการติดตามผลทุกๆ ป และทุกๆ ไตรมาส พรอมกับผลลัพธที่สําคัญที่เพิ่มขึ้นดวย วัตถุประสงคหลัก เพิ่มเวลาในการรับชมเปนหนึ่ง 1 พันลานชั่วโมงตอวัน (ภายในป 2016) ซึ่งจะเพิ่มขึ้นได โดยการ
ผลลัพธที่สําคัญ 1. ทีมคนหา + แอพพลิเคชั่นหลัก (+ XX%) แอพพลิเคชั่น Living Room (+ XX%) 2. เพิ่มเวลาในการรับชมเกม (จํานวนชั่วโมงในการรับชม x ชั่วโมงตอวัน) 3. ออกผลิตภัณฑเพื1อสรางประสบการณ VR บนยูทูบ และเพิ่มแค็ตตาล็อกดาน VR จาก X วิดีโอ เปน Y วิดีโอ
226
หลักการสรางเปาหมายที่ทาทายอยางมาก หากคนในองคกรปราศจากความเชื1อวาเขาสามารถทีจ่ ะทําเปาหมาย ทีท่ า ทายมากๆ ใหสาํ เร็จได เปาหมายนัน้ ก็จะพังทลายไปในพริบตา และตอน นี้เองที่ตองใชศิลปะในการบริหารจัดการ ซิเชียรซึ่งเปนผูจัดการที่เกงและ ฉลาด ไดทําการยอยเปาหมายที่ทาทายมากๆ (BHAG) ของเราใหเขาใจ และจับตองไดงายขึ้นวา เปาหมาย 1 พันลานชั่วโมงตอวัน ถือเปนจํานวน ที่นอยมาก ซึ่งไมถึง 20% ของเวลาที่ผูคนใช ในการรับชมโทรทัศนของทั้ง โลกรวมกันดวยซํา้ ไป การอธิบายและทําความเขาใจในบริบทนีเ้ ปนประโยชน และชัดเจนเปนอยางมากอยางนอยก็สําหรับผมคนหนึ่งละ เราไมไดฝนที่จะ เติบโตแบบตามใจชอบหรือไรเหตุผล จะเห็นวาเมื1อเปรียบเทียบกับสิง่ ที่ใหญ กวา เรายังจะเติบโตไดอีกเยอะ ในการติดตามภารกิจของเราในอีกสี่ปขางหนา ในความเปนจริงแลว เราอาจจะไมไดเติบโตได 10 เทา (10x) อยางสมบูรณแบบ บางครั้งเรา ก็ ไดมีการตัดสินใจบางอยางที่สงผลทางลบตอเวลาในการชมไดเหมือนกัน ตัวอยางเชน เราไดกําหนดนโยบายใหหยุดการเผยแพรวิดีโอที่ใชการพาด หัวหรือตั้งชื1อเพื1อหลอกลอใหคนแคเขาไปกดเพื1อเพิ่มยอดการคลิกเขาไป ชม (Click-baity Video) ภายหลังจากออกนโยบายนี้ ไปไดสามสัปดาห ไดสงผลกระทบทําใหเวลาในการรับชมลดลงครึ่งเปอรเซ็นต แตเราก็ ได ยืนหยัดกับการตัดสินใจในครัง้ นี้ เพราะมันทําใหจาํ นวนผูช มทีโ่ ดนหลอกเขา มาใหกดวิดโี อลดลง ซึง่ สอดคลองกับหลักการของเราทีต่ อ งการเติบโตอยาง รับผิดชอบ ในอีกสามเดือนตอมาจํานวนเวลาในการรับชมในกลุม นีก้ ก็ ลับคืน มา และเพิ่มขึ้นอยางตอเนื1อง เมื1อเนื้อหาเหลานี้เขาถึงไดนอยลง คนสวน ใหญก็จะสามารถคนหาเนื้อหาที่ทําใหพอใจไดมากขึ้นดวย
227
เมื1อเราตัง้ คาเปาหมายเปนพันลานชัว่ โมงแลว ไมมอี ะไรทีเ่ ราทําแลว ไมวดั ผลกระทบตอเวลาของการรับชม และถามีเหตุการณอะไรเปลีย่ นแปลง และอาจจะสงผลกระทบตอการบรรลุเปาหมายหรือทําใหการบรรลุเปาหมาย ชาลง เราก็จะมีการพิจารณาดูวาจะสงผลกระทบมากนอยแคไหน หลังจาก นั้นเราก็จะพูดคุยเพื1อหาขอสรุปกันกอนกอนจะดําเนินการตอไป
เรงความเร็วใหเพิ่มขึ้น ซูซาน : ซาลาร คาแมนการ มีความสุขมากในชวงเริ่มตนของบริษัท และเขาชอบคุยเรื1องการนําพาบริษัทใหเติบโตขึ้น ซึ่งเขาก็ทําไดดีจริงๆ เพราะในป 2012 ยูทูบไดเติบโตขึ้นจนเปนองคกรขนาดใหญ แตซาลาร ก็ตดั สินใจลาออกไป ตอนนัน้ บริษทั มีการแบงออกเปนสองกลุม คือ กลุม ธุรกิจ และกลุมเทคโนโลยี เราตองการใหมีใครสักคนเอาสองธุรกิจนี้มารวมกัน หลังจากฉันเคยบริหารแอดเวิรดสมาสิบกวาป ฉันรูสึกอยากจะเขาไปทําให สองธุรกิจนี้ของยูทูบรวมกันเปนหนึ่งเดียวใหได ภายใตความเปนผูน าํ ของยูทบู ถูกกําหนดไววา จะตองมีคนดูถงึ 1 พัน ลานชั่วโมงในแตละวัน คนทํางานสวนใหญตางมองวาเปนไปไมได พวกเขา ตางคิดวามันจะไปทําลายระบบอินเทอรเน็ต แตฉันกลับมองวาการกําหนด วัตถุประสงคที่ชัดเจนและสามารถวัดได จะกระตุนการทํางานของพวกเขา และฉันก็ใหกําลังใจกับพวกเขาตลอดเวลา เมื1อฉันเขามาในเดือนกุมภาพันธ 2014 เวลาผานไปเกือบ 2 ป พูดงายๆ วาเวลาผานไปเกินครึ่งทางแลว แตเปาหมายที่ทาทายยังไมคืบ หนาเลย ปญหาที่เกิดขึ้นคือแมจะมีการกําหนดวัตถุประสงคไวอยางชัดเจน แตกลับพบวามีความกาวหนานอยมาก การเติบโตของเวลาในการรับชมลด ลงอยางมาก ตํ่ากวาที่เราตองการและคาดวาคงไมถึงเปาหมายที่กําหนดไว แนVนอน สถานการณแบบนี้ไดสรางความกดดันอยางมากใหกบั พวกเราทุกคน
228
แมวา กูเกิลไดกาํ หนดเกรดของผลงานทีม่ เี ปาหมายทีท่ า ทายอยางมาก ไววา ถาทําได 70% หรือ 0.7 หมายถึงการบรรลุเปาหมายแลวก็ตาม แตคนทํางาน ในยูทูบไมคิดเชนนั้น เขาคิดวาการบรรลุเปาหมายคือตองได 100% โดย เฉพาะอยางยิ่งเปาหมายที่ดูแลวมีโอกาสเปนไปได แมวาตอนนี้บางทีมใน ยูทูบจะไมบรรลุเปาหมายเลยก็ตาม พวกเขาคิดวาถาเพิ่มเวลาในการรับชม ตอวันทําได 700 ลานชั่วโมงจากเปาหมาย 1 พันลานชั่วโมงตอวัน แมตาม ระบบการประเมินเกรดของกูเกิลจะถือวาบรรลุเปาหมาย แตคนที่ยูทูบไม พอใจแนVๆ โดยสวนตัวแลวฉันเองก็ ไมแนVใจวาเราจะสามารถไปถึง 1 พันลาน ชัว่ โมงไดตามกําหนดเวลาหรือไม แตฉนั ก็โอเคนะถาทุกคนรวมแรงรวมใจกัน ทํางานกันอยางเต็มเลว แมเราจะพลาดเปาหมายไปบาง ฉันเคยมีประสบการณ ในการทําไมไดตามเปาหมายแบบนี้ที่กูเกิลมากอน ตอนที่เราออกแอดเซนส (AdSense) มาในป 2007 เราตองการเพิ่มรายไดรวมจากเว็บทั้งหมด การ เปดตัวนีถ้ อื เปน OKRs รายไตรมาส เราทํางานกันหนักมาก เราตองปรับเปา หมายในการลุยไปขางหนา ทั้งนี้เพื1อใหสามารถเปดตัวไดตามวันที่กําหนด แมสุดทายตองลาชาไปสองวันก็ตาม แตก็ ไมไดมีความเสียหายใดๆ เกิดขึ้น สิ่งที่ดีที่สุดเกี่ยวกับ OKRs ก็คือเราสามารถติดตามความกาวหนา เทียบกับเปาหมายได โดยเฉพาะอยางยิง่ เมื1อคุณลาชาไปจากเวลาทีก่ าํ หนด ไว เมื1อฉันมีการติดตาม OKRs ในชวงกลางไตรมาส ประเด็นตางๆ จะถูก ดําเนินการแกไข และทําใหกลับมาอยูในแผนงานทีว่ างไว ระบบการติดตาม นีถ้ อื เปนโอกาสดีทจี่ ะเจอทีมผูน าํ พรอมๆ กัน และบอกวา เอาละ ฉันตองการ ใหพวกคุณแตละคนเสนอชื1อโครงการมาคนละหาโครงการที่คิดวาจะชวย ใหเราสามารถบรรลุเปาหมายที่ตั้งไวได เราอาจมีการเพิ่มความทาทายของ OKRs ใหมากขึ้น เพื1อชวยกระตุนใหทีมงานของเรารูสึกอยากจะทําและตื1น เตนที่จะทํามากขึ้น ดังนั้น ฉันจึงไมคอยกังวลกับการได 1 พันลานชั่วโมง กอนที่จะถึงกําหนดเวลาที่วางไว
229
คริสโทส กูดโลว เจาของฉายาผูพิทักษ OKRs กลับมีมุมมองที่ตาง ออกไป วัตถุประสงค 1 พันลานชั่วโมงตอวันกลายเปนวาฬสีขาวสําหรับเขา ไมนานหลังจากที่ฉันเขารวมงานกับบริษัท ในการประชุม “ติดตามผลการ ดําเนินงาน” คริสโทสไดนําเสนอภาพนิ่งจํานวน 46 สไลด พอมาถึงสไลด แผนที่หา เขาก็พูดดวยเสียงอันดังและชัดเจนวา เราจําเปนจะตองทําใหได คริสโทส : ผมกังวลกับเรื1องนี้อยางมาก ในแตละปเราไดมีการ ประกาศวัตถุประสงคและจุดเนนประจําปของเรา ตั้งแตป 2013-2016 เรา ไดมีการนําเสนอ OKRs ที่ 1 พันลานชั่วโมง รวมถึงเราจะมีหลักไมลเปน ระยะๆ เพื1อใหมั่นใจวายังคงมีความกาวหนาอยางที่ตองการ เมื1อผมไดพบ กับซูซานครั้งแรก ผมไดขอบคุณเธอที่ยังเก็บรักษาเปาหมาย 10 เทา (10x) ของเราไว ผมไดบอกอีกวา ตอนนี้เรากําลังตามหลังเปาที่วางไวอยางมาก และผมก็รูสึกเปนกังวลวาเราจะไมสามารถทําตามเปาได ผมหวังวาคุณจะ เปนกังวลกับความจริงขอนี้ และจําไวเสมอวา ไมวา คุณจะตัดสินใจจัดลําดับ ความสําคัญอยางไร ถาปญหานี้ ไมไดถูกแกไข เราจะไมมีวันบรรลุ OKRs ที่ ตั้งไวไดแนVนอน ซูซาน : ฉันมีกังวลในหลายๆ เรื1อง หนึ่งในนั้นคือการทํางานกับ กลุมที่เกี่ยวของกับระบบของกูเกิล คือการทําใหมั่นใจวาเราจะมีโครงสราง พื้นฐานที่ชวยสนับสนุนเปาหมายของเรา ซึ่งมันตองใชความจุของขอมูล (Bytes) จํานวนมาก ในการสงวิดีโอของยูทูบจากศูนยขอมูลของเราไปยัง ผู ใชงาน ซึ่งมากกวาที่จะตองใชสําหรับอีเมลหรือสื1อสังคมออนไลนอื1นๆ (ในทางเทคนิค เราเรียกวา อีเกรสสแบนดวิดท (Egress bandwidth) หมายถึง ความกวางของแถบคลื1นความถีท่ ี่ใช ในการอัปโหลด ซึง่ ยิง่ แบนดวดิ ท สูง การสงรับขอมูลก็จะมีประสิทธิภาพสูงดวย) เราพยายามทําทุกอยางเพื1อ ใหมั่นใจไดวา กูเกิลจะมีเซิรฟเวอรอยางเพียงพอในการวางพื้นที่ของชอง ทางในการสงวิดีโอไปยังโทรศัพท หรือแล็ปท็อปของคุณ
230
ภายหลังจากไดมกี ารประกาศ OKRs ทีพ่ นั ลานชัว่ โมงแลว ทีมผูบ ริหาร ของยูทบู ก็พากันไมพอใจทีจ่ ะตองสํารองแบนดวดิ ทตามทีเ่ ราตองการไปจนถึง ป 2016 เมื1อฉันเขารับตําแหนVง กลุม เซิรฟ เวอรของกูเกิลไดขอเจรจากันใหม วาสิ่งนี้ดูจะทําใหเกิดคาใชจายที่มากเกินไป ซึ่งฉันก็อยูในจุดที่ยากลําบาก ฉันเปนคนใหมและเราก็ลาหลังการใชงานตามที่คาดการณ ไว หากฉัน ตัดสินใจลดจํานวนแบนดวิดทสํารองไป ฉันก็รูวาเราจะไมสามารถยอน กลับมาอีกได โดยงาย ดังนั้น ฉันจึงตัดสินใจไปพูดกับคนที่รับผิดชอบดาน เทคนิควา เราจะเดินหนาตอกับแผนนี้ และอีกสามเดือนเรามาพบกันอีกครัง้ ฉันตองการที่จะยืนยันการสํารองของเราไวจนกวาเราจะรูวาเราตองการแค ไหน สามเดือนตอมาเรามีขอมูลมากขึ้นและก็เติบโตมากขึ้นดวย ซึ่งทําให การทํางานตางๆ งายขึ้น OKRs เวลาเขาชมที่ 1 พันลานชั่วโมงตอวัน ถือเปนเปนเปาหมาย ที่สําคัญสําหรับยูทูบ และฉันตองการสนับสนุนเปาหมายดังกลาว แตมันก็ เปนคํามั่นสัญญาที่ฉันกลัววามันอาจจะกอใหเกิดความเสียหายไดถาไมได รับการจัดการอยางถูกตอง งานของฉันก็คือการจัดการกับปญหาตางๆ รวม ถึงประเด็นที่อาจจะถูกมองขามไป ระยะเวลาในการชมในแตละวันจะมา จากสองปจจัย นั่นคือจํานวนเฉลี่ยของผูชมที่ใชงานในแตละวัน (หรือ DAV : Daily Active Viewers) และระยะเวลาเฉลี่ยที่ผูชมเหลานั้นใช ในการชม ถาประเมินดูแลว ยูทบู เราทํางานไดดกี บั ปจจัยตัวทีส่ องคือระยะเวลา เฉลี่ยที่ชม แตปจจัยนี้สงผลตอการบรรลุเปาหมายคอนขางนอย สูจํานวน เฉลีย่ ของผูช มที่ใชงานประจําวันไมได และจากงานวิจยั ของเราพบวาโอกาส ในการเติบโตดวยการขยายฐานผู ใชงานมีมากกวาการทําใหผู ใชงานเพิม่ เวลา ในการชมยูทบู สูงกวาถึงสองเทา ดังนัน้ เราจึงตองเนนเพิม่ ผู ใชงานรายใหม รวมถึงผูที่จะมาลงโฆษณากับเราดวยเชนกัน
231
การสนับสนุนซึ่งกันและกัน คริสโทส : เมื1อใดก็ตามที่คุณมีผูนําคนใหม ทุกอยางจะถูกนํามาทบทวน ใหมหมด เมื1อซูซานเขามาดูแลยูทูบ เธอก็ ไมจําเปนที่จะตองผูกมัดตนเอง กับ OKRs ที่ 1 พันลานชั่วโมงก็ ได เพราะนั่นเปนเปาหมายของทีมบริหาร คนกอนหนานี้ เธออาจจะเปลี่ยนกลับไปเปนเปาหมายของการชม หรือมุง เนนรายไดทมี่ ากขึน้ หรือเธออาจจะเก็บ OKRs เวลาในการรับชมเอาไว และ เพิม่ อยางอื1นทีม่ คี วามสําคัญเทากันหรือมากกวาก็ ได และถาเธอตัดสินใจทํา อยางนั้น เราก็จะไมมีวันไดถึง 1 พันลานชั่วโมงตามเวลาที่กําหนดได เราจะ เกิดความสับสนและจะไมสามารถทําไดอยางแนVนอน หลังจากทีซ่ ซู านเขามา เราไดเริม่ วางชื1อของผูค นเอาไวขา งๆ เปาหมาย ของบริษทั โดยมีแถบสีทแี่ สดงถึงความคืบหนาทัง้ “สีเขียว” “สีเหลือง” หรือ “สีแดง” และชื1อของผม “คริสโทส” ถูกแสดงพวงไวกับ 1 พันลานชั่วโมง ในการประชุมพนักงานทุกสัปดาห ไตรมาสแลวไตรมาสเลา ปแลวปเลา ผม รูสึกวาตนเองเปนผูรับผิดชอบตอ OKRs นั้นไปโดยปริยาย ผมรูสึกชื1นชมกับหลักเกณฑของกูเกิลในการตั้งเปาหมายที่ทั้งเสี่ยง และหาวหาญ และทําใหรสู กึ วาไมเปนไร ถามันจะไมไดตามเปาหมายทีต่ งั้ ไว แตผมก็รูวาสิ่งที่ดีๆ ไดเกิดขึ้นแลว ตั้งแตเรามีการประกาศเปาหมายที่ ทาทายมากๆ ออกไป ก็ทาํ ใหทมี ของผมไดมโี อกาสปรับปรุงวิธกี ารคนหาวิดโี อ และการใหคําแนะนําไดอยางมาก เราเปนสวนปลายของ OKRs ที่ชวย สรางตัวตนและความสําเร็จของยูทูบใหเกิดขึ้นทั่วทั้งกูเกิล ความมั่นใจและ คุณคาขององคกรเราพุงสูระดับที่ไมเคยมีมากอน ในชวงที่บริษัทขาดขวัญ และกําลังใจกัน ผมไดยินผูคนในฝายการตลาดคุยกันเกี่ยวกับเวลาในการ รับชมดวยความตื1นเตนในแบบที่ผมไมเคยคาดคิดวาจะไดยินแบบนี้มากอน
232
อยางไรก็ตาม OKRs นี้มีความหมายที่แตกตางกันระหวางบริษัท กับตัวผมเอง สําหรับผมแลว ผมไดบอกกับทางซิเซียรวาถาเราลมเหลวใน กําหนดเสนตาย 4 ป ผมจะขอลาออกจากกูเกิล และผมก็หมายความอยาง นัน้ จริงๆ ผมรูว า มันฟงดูนาV เศรา แตผมก็รสู กึ แย และบางทีดว ยความมุง มัน่ ที่เขมงวดนี้ ชวยทําให ใหผมทุมเทกับมันไดอยางเต็มที่ พอถึงชวงปใหมของป 2016 ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนของการเดินทาง ชวงสุดทาย เราสามารถทําไดตามกําหนดเวลา แตก็เกือบจะไมไดเหมือน กัน แตหลังจากนั้น ความซบเซาที่มาจากอากาศที่อุนขึ้นก็เริ่มตน เมื1อผูคน ใชเวลานอกบานมากขึ้นและดูวิดีโอนอยลง แลวพวกเขาจะกลับมาเมื1อไหร ละ อยางชาก็ปลายเดือนกรกฎาคมโนVน สงผลใหอัตราการเติบโตของเรา ลาหลังจากเปาหมายตอนปลายป ผมรูสึกกังวลมาก เลยขอใหทีมงานของ ผมไดทําการทบทวนเกี่ยวกับการลําดับความสําคัญของโครงการเสียใหม เพื1อจะไดกระตุนเวลาในการรับชมใหเพิ่มมากขึ้นได ในเดือนกันยายน ผูคนเริ่มทยอยเดินทางกลับจากการทองเที่ยวชวง หนารอน ผูชมกลุมเดิมๆ ก็กลับมา พรอมกับไดผูชมกลุมใหมๆ ดวย ทั้งหมด มาจากการปรับปรุงระบบการคนหาและการใหคาํ แนะนํา การไปใหถงึ 1 พัน ลานชัว่ โมงเหมือนเปนเกมการแขงขันทีว่ ดั ผลแพชนะกันดวยระยะทางทีห่ า ง กันแคเพียงหนึ่งนิ้ว (Game of Inches) วิศวกรของเรากําลังคนหาประเด็น ตางๆ ที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงที่อาจชวยทําใหเวลาในการชมเพิ่มขึ้น 0.2% เฉพาะในป 2016 พวกเขาพบวามีถึง 150 เรื1อง ซึ่งเราตองทําเกือบทุกเรื1อง เพื1อใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว จนถึงชวงตนเดือนตุลาคม เวลาการชมในแตละวันก็เติบโตขึ้นจนสูง กวาอัตราเปาหมายที่เราตั้งไว นั่นคือตอนที่ผมรูวาเราทํามันไดแลว อยางไร ก็ตาม ผมก็ยงั คงตรวจสอบกราฟเวลาการชมในทุกๆ วันตลอดทัง้ สัปดาห เมื1อ
233
ผมไปพักผอนวันหยุด และเปนจังหวะทีผ่ มปวยเสียอีก พอมาถึงวันจันทรกม็ ี เรื1องดีๆ เกิดขึน้ ผมไดมาตรวจสอบอีกครัง้ และพบวาเราสามารถทําสถิตไิ ด ถึง 1 พันลานชั่วโมงในชวงสุดสัปดาห เราสามารถบรรลุ OKRs ที่ทาทายนี้ ทั้งๆ ที่คนสวนใหญมองวามันเปนไปไมได วันถัดมาถือเปนครั้งแรกในรอบมากกวา 3 ปที่ผมไมตองตรวจสอบ กราฟผลการดําเนินงาน OKRs ของเราสงผลดีมากๆ อยางทีเ่ ราคาดไมถงึ มากอน เพราะตลอด เวลาสี่ปที่ผานมา นอกจากการผลักดันใหมีเวลาในการรับชมตอวันถึง 1 พัน ลานชั่วโมงแลว ยังทําใหจํานวนผูชมในแตละวันพุงสูงขึ้นอีกดวย OKRs ที่ ทาทายจะทําใหเกิดแรงขับเคลื1อนมหาศาล และคุณจะไมรเู ลยวามันจะพาเรา ไปถึงไหน อีกบทเรียนใหญสําหรับผมคือการสนับสนุนจากผูบริหารระดับสูง ถือเปนปจจัยสําคัญสูความสําเร็จที่สําคัญมากๆ เชนกัน ซูซานและทีมผูบริหารของยูทูบมีความเชื1อมั่นในเปาหมายวาเราได เลือกแนวทางทีด่ ที สี่ ดุ เทาทีม่ โี อกาสเปนไปไดจริง และพวกเขารูส กึ ยินดีและ เต็มใจกับการมีเปาหมายทีช่ ดั เจนและทาทายมากๆ นี้ แตเมื1อมีคนทํางานใน กูเกิลเสิรชจํานวนมากรูสึกกังวลเกี่ยวกับเปาหมาย OKRs ของยูทูบของเรา ผูนําระดับสูงของกูเกิลจึงไดลุกขึ้นมาสนับสนุนเปาหมายของเรา รวมทั้งให อิสระในการบริหารงานอยางที่เราตองการ
234
ซูซาน วอจซิกกี้ ฉลองวันเกิดปที่สิบของยูทูบ ในป 2015
การคิดให ใหญขึ้น ซูซาน : เปาหมายที่ทาทายมากและสรางแรงบันดาลใจไดสงผลตอการ กระตุนใหคนทั้งองคกรชวยกันคิดชวยกันทําสิ่งใหมๆ ไดมากเลยทีเดียว อยางเชน ในกรณีเปาหมายที่ทาทายของยูทูบไดชวยกระตุนใหเกิดแนวคิด และโครงการใหมๆ ที่เกี่ยวของกับโครงสรางพื้นฐานทั่วทั้งบริษัท คนทํางาน เริม่ พูดกันวา ถาเรากําลังจะใหญขนึ้ เราอาจตองมีการออกแบบระบบของเรา ใหม บางทีเราจําเปนตองออกแบบการจัดเก็บขอมูลเสียใหม ดังนั้น การที่ ทุกคนคิดถึงเปาหมายที่ใหญขึ้น จะทําใหคนทํางานในองคกรชวยกันเตรียม ความพรอมที่ใหญขึ้นเชนกัน หากมองยอนกลับไป ฉันก็สงสัยเหมือนกันวา เราจะสามารถบรรลุ เปาหมายไดภายในสี่ป โดยไมมีกระบวนการ โครงสราง และความชัดเจน ของ OKRs ทีท่ า ทายนี้ ไดอยางไร ในบริษทั ทีม่ กี ารเติบโตอยางรวดเร็ว ความ
235
ทาทายจะชวยทําใหทกุ คนปรับตนเองใหสอดคลองและมุง ไปในวัตถุประสงค เดียวกัน คนทํางานตองการเปาหมายทีจ่ ะมาเปรียบเทียบกับผลงานทีเ่ กิดขึน้ เพื1อจะรูวาพวกเขาดําเนินการเปนอยางไรบาง ดังนั้น หลักคิดที่สําคัญคือ การกําหนดเปาหมายที่ใช สําหรับพวกเราแลว เวลาในการรับชม 1 พันลาน ชั่วโมงในแตละวัน เปรียบเหมือนการไดสงมอบดาวเหนือ (ดาวเหนือถือได วาเปนดาวนําทางของนักเดินทาง) ใหกับผูคนที่ทํางานอยูในฝงเทคนิคของ เราใหได ใชเปนเครื1องนําทางเพื1อไปสูจุดหมายเดียวกัน แตไมมีอะไรที่จะเหมือนเดิมตลอดไป ในป 2013 ตัววัดเวลาในการ รับชมกลายเปนวิธีที่ดีที่สุดในการวัดคุณภาพของประสบการณของยูทูบ แตในตอนนี้เรากําลังมองหาตัวแปรอื1นๆ จากวิดีโอและภาพถายที่เพิ่มขึ้น บนเว็บ เพื1อสรางความพึงพอใจใหกับผูชมและใหความสําคัญกับความรับ ผิดชอบตอสังคมดวย หากคุณดูวิดีโอสองเรื1องเปนเวลา 10 นาทีในแตละ เรื1อง เวลาในการรับชมก็เหมือนกัน แตเรื1องไหนที่จะทําใหคุณรูสึกมีความ สุขมากกวากัน ดังนั้น เมื1อถึงเวลาที่หนังสือเลมนี้จัดพิมพออกไป เราอาจจะไดพบ ตัววัดใหมทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น ในชวงตนป 2015 เราไดเริ่มกาวไปไกลกวา เวลาในการรับชม ดวยการเพิ่มการวัดความพึงพอใจของผู ใชงานลงไปใน วิดีโอที่แนะนําของเราดวย โดยการถามผู ใชงานเกี่ยวกับเนื้อหาที่พบวามี ความพึงพอใจมากที่สุด และประเมินวาชอบหรือไมชอบเขาไปดวย ซึ่งวิธีนี้ จะชวยใหเราสามารถมัน่ ใจไดวา พวกเขารูส กึ อยางไรกับเวลาที่ใชไปบนยูทบู พอมาในป 2017 เราไดสรางวิดีโอขาวดวน (Breaking News) บนโฮมเพจของเรา ที่จะชวยทําใหเนื้อหามีความโดดเดน ทันสมัย และ นVาเชื1อถือมากยิ่งขึ้น จากแหลงขาวที่เชื1อถือได จนถึงทุกวันนี้เราก็ยังทําการ รวมเอาสัญญาณใหมและเปนประโยชน ไว ในคําแนะนําของเราใหมากขึ้น เมื1อธุรกิจของเราเติบโตขึ้น และยูทูบมีบทบาทเกี่ยวของกับสังคมมากขึ้น เราจะพยายามคนหาตัวชี้วัดที่เหมาะสมสําหรับบริการของเรา นั่นก็คือการ กําหนด OKRs ที่ใชและเหมาะสมนั่นเอง
236
ภาคที่ 2
โลกใบใหมของการทํางาน
237
Measure.indd 8
5/17/2019 3:07:32 PM
15
การบริหารงานอยางตอเนื1อง : OKRs และ CFRs การพูดคุยกันสามารถเปลี่ยนแปลงความคิด ความคิดเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงองคกร เชอรีล แซนดเบิรก
ก
ารทบทวนผลงานประจําปนับเปนเรื1องที่เสียคาใชจาย เปนเรื1องที่ นาเบื1อหนาย และไมกอใหเกิดประโยชนแตอยางใด โดยเฉลี่ยแลว ผูจัดการตองเสียเวลาไปกวา 7 ชั่วโมงครึ่งสําหรับการประเมินผู ใตบังคับ บัญชาแตละคน มีเพียงแค 12% ของผูบริหารดานทรัพยากรบุคคลเทานั้น ที่เห็นวายังเปนกระบวนการที่มีประสิทธิภาพสูงในการขับเคลื1อนธุรกิจ และ มีเพียง 6% เทานัน้ ทีค่ ดิ วามันยังคุม คากับเวลาทีต่ อ งใชไป การประเมินตอน ปลายปดวยการจัดลําดับโดยการเปรียบเทียบพนักงานกับพนักงานคนอื1น (Stack Ranking) และการใชระบบโควตาแบบระฆังควํ่า ไมไดชวยทําให ระบบการประเมินผลงานมีประสิทธิภาพและเปนธรรมได สิ่งที่ผูนําธุรกิจไดเรียนรูอยางเจ็บปวดคือ บริษัทไมสามารถตีคาคน เพียงแคตัวเลขหรือจํานวนคนเพียงอยางเดียวได เพราะคนมีคามากกวา เพียงแคตัวเลข เชน มีคุณคา มีทักษะ มีความฝน ความตองการ เปนตน แมแต ปเตอร ดรักเกอร เอง ก็เขาใจถึงขอจํากัดของการประเมินแบบนี้ ดรักเกอรไดกลาววา “บทบาทของผูจ ดั การเปนเรื1องเฉพาะตัว ทีเ่ ปนการสราง ความสัมพันธกบั ผูค น รวมถึงพัฒนาใหเกิดความเชื1อมัน่ ซึง่ กันและกัน นําไป
239
สูการสรางใหเกิดเปนชุมชน” หรือแมแต อัลเบิรต ไอนสไตน เองก็บอกวา “ไมใชทุกอยางที่สามารถนับไดแลวจะวัดไดเสมอไป” ถาหากเราตองการที่จะบรรลุเปาหมายที่ไกลเกินกวาจะจินตนาการ ได การบริหารคน ระบบการทํางาน และการสื1อสารภายในองคกร ตอง พัฒนาอยูในระดับที่สูงกวานี้ดวย เชนเดียวกับ OKRs รายไตรมาสไดทําให เปาหมายรายปตามแบบเดิมลาสมัยไปเลย เราตองการเครื1องมือที่จะชวย ปฏิวัติระบบการบริหารผลงานที่ลาสมัยไปแลว ในระยะสั้นเราตองการรูป แบบการบริหารบุคคล (HR) แบบใหมสําหรับโลกใหมของการทํางาน ระบบ ทีจ่ ะชวยสรางใหเกิดการเปลีย่ นแปลง ซึง่ เปนทางเลือกรวมสมัยสําหรับการ ทบทวนผลงานประจําป จะเรียกวา การบริหารผลงานอยางตอเนื1อง และ มีการนํามาใชดวยเครื1องมือที่เรียกวา CFRs ซึ่งประกอบดวย x การสนทนา (Conversation) จะเปนการแลกเปลีย ่ นอยางแทจริง ระหวางผูจัดการและพนักงาน โดยมุงเปาไปที่การขับเคลื1อนผล การดําเนินงาน x การใหฟดแบค (Feedback) จะเปนการสื1อสารแบบสองทิศทาง หรือภายในเครือขาย ระหวางเพื1อนรวมงาน เพื1อประเมินความ กาวหนา และแนะนําการปรับปรุงการทํางานในอนาคต x การชื1นชมยกยอง (Recognition) เปนการแสดงออกถึงความ ชื1นชมตอบุคคล สําหรับการมีสวนรวมในทุกๆ ดาน CFRs ก็ ไมตางอะไรกับ OKRs ที่ตองมีทั้งความโปรงใส ความรับผิด ชอบ การใหอํานาจ และการทํางานเปนทีม ในทุกระดับขององคกร CFRs จึงเปรียบเสมือนตัวจุดไฟใหคนในองคกรไดสร างพลังในการขับเคลื1อน เปาหมายของ OKRs ไปสูความสําเร็จ และชวยทําใหกระบวนการการวัด สิง่ ทีส่ าํ คัญมีความสมบูรณยงิ่ ขึน้ ทัง้ หมดจะชวยใหเห็นถึงพลังและอานุภาพ ของวิธกี ารทีเ่ ปนนวัตกรรมของ แอนดี้ โกรฟ ทีจ่ ะชวยใหเสียงและความรูส กึ ของคนเขาไปอยูในระบบ OKRs
240
แนวทางที่ดีที่สุดคือ การนําเอา OKRs และ CFRs มาใชรวมกัน ซึ่ง จะชวยเสริมพลังซึง่ กันและกัน ดัก๊ เดนเนอรไลน CEO ของเบตเตอรเวิรก ส ซึ่งเปนผูบุกเบิกการนําเครื1องมือนี้มาใชกับระบบคลาวดและกับสมารตโฟน เพื1อชวยใหองคกรตางๆ หลายรอยองคกรสามารถสรางกระบวนการของ ตนเอง ระบุวามันเหมือนกับการแตงงานกันระหวางคนสองคน เพื1อใหเกิด เปนผลสําเร็จที่แทจริง “ถาการสนทนาถูกจํากัดไวแควาคุณบรรลุเปาหมาย หรือไมเทานั้น คุณก็จะสูญเสียความเขาใจในบริบทตางๆ ที่เกิดขึ้น” ดังนั้น คุณจําเปนตองมีการบริหารผลงานอยางตอเนื1องเพื1อตอบคําถามสําคัญทีว่ า เปาหมายมีความยากทีจ่ ะบรรลุไดมากกวาทีค่ ณ ุ คิดไวเมื1อตอนกําหนดหรือไม มันเปนเปาหมายที่ถูกตองในตอนแรกหรือไม มันชวยสรางแรงจูงใจไดหรือ ไม เราควรจะทําสองหรือสามเรื1องที่ใชงานไดจริงในชวงไตรมาสสุดทายหรือ ไม หรือถึงเวลาที่จะตองพิจารณาหมุนวนกลับมาใหม คุณจําเปนตองคนหา ขอมูลเชิงลึกเหลานั้นจากทั่วทั้งองคกร ในทางตรงกันขาม ถาคุณไมไดมีเปาหมาย แลวเรากําลังคุยเรื1อง ไรสาระอะไรกัน คุณทําอะไรสําเร็จไปบางละ และทําไดอยางไร จาก ประสบการณของผม คนทํางานมีแนวโนมที่จะรูสึกไดถึงความสําเร็จก็ตอ เมื1อพวกเขามีเปาหมายที่ชัดเจนและสอดคลองกันเทานั้น ยิ่งถาเขามองไม เห็นการเชื1อมโยงระหวางงานที่พวกเขาทํากับเปาหมายองคกร พวกเขาจะ ทําอะไรโดยไมมจี ดุ หมาย และเขาก็ ไมมขี อ สงสัยหรือคําถามใดๆ เกิดขึน้ เลย หากเปรียบเทียบกับอเมริกันฟุตบอล สมมติวาวัตถุประสงคที่สําคัญ คือเสาประตูทคี่ ณ ุ ตองการจะไปใหถงึ สวนผลลัพธทสี่ าํ คัญคือระยะทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการวิง่ ในแตละครัง้ เพื1อใหไปถึงยังจุดทีต่ อ งการและเพื1อใหประสบความ สําเร็จรวมกันทัง้ ทีม ทัง้ ผูเ ลนและโคชตองการบางสิง่ ทีม่ ากกวาแคผลลัพธที่ สําคัญ ตองการใหทีมกระหายตอชัยชนะตอความสําเร็จ ซึ่ง CFRs จะทํา หนาทีร่ วบรวมความคิดเห็นและบทเรียนจากในเกมนัน้ ๆ เพื1อนําไปปรับใชกบั
241
เกมตอไป พวกเขาจะมีการดูและวิเคราะหการเลนจากวิดีโอยอนหลังในวัน จันทร มีการประชุมภายในกลุม ชวงกลางสัปดาห การพูดคุยกันกอนการเลน ในแตละครัง้ และการเฉลิมฉลองทีห่ ลังเสนประตูของฝายตรงขามทีเ่ รียกวา เอนด โซน เมื1อประสบความสําเร็จ
การปฏิรูประบบการบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resources) ขาวดีคือ การเปลี่ยนแปลงไดเกิดขึ้นแลวอยางรวดเร็ว 10% ของ บริษัทที่ติดอันดับในรายชื1อฟอรจูน 500 ไดทําการยกเลิกระบบการประเมิน ผลงานแบบเกาที่ทํากันปละครั้ง และตัวเลขนี้ก็กําลังเพิ่มขึ้นเรื1อยๆ กลุม บริษัทสตารต-อัพที่มีขนาดเล็กอีกจํานวนมากที่ไมผูกมัดตนเองไวกับระบบ เดิมก็กาํ ลังจะเปลีย่ นแปลงเชนกัน เรามาถึงจุดทีเ่ กือบทุกๆ แผนกทรัพยากร บุคคลจําเปนที่จะตองมีแนวคิดใหมๆ ที่สอดคลองกับยุคการทํางานผานมือ ถือ ทํางานแบบทีมเฉพาะกิจ ทํางานเปนโครงการ ไมตองมีสายการบังคับ บัญชาที่ยุงยาก ทํางานที่ไหนก็ ได ซึ่งกระแสความตองการของคนทํางาน รุนใหมแบบนี้มีแนวโนมจะเพิ่มขึ้นเรื1อยๆ เมื1อบริษัทนําเอาระบบนี้เขาไปทดแทนระบบเกา หรือมีการใชทั้ง สองระบบผสมผสานกันไปในการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําป การ สนทนาพูดคุยกันอยางตอเนื1อง การฟดแบคเพื1อใหขอมูลปอนกลับแบบ ทันที (Real-time Feedback) ระหวางหัวหนากับลูกนอง จะชวยใหมีการ ปรับปรุงการทํางานไดดีขึ้นตลอดทั้งป (โดยไมตองรอใหถึงสิ้นปแลวคอย ทํา) ดังนัน้ ความโปรงใสและการทํางานทีส่ อดคลองกันก็จะกลายเปนความ จําเปนสําหรับการทํางานในทุกๆ วัน เมื1อพนักงานเกิดปญหาในการทํางานขึน้ ผูจ ดั การก็ ไมจาํ เปนตองรอเขาประชุมตามตารางเพื1อรับทราบเหตุหรือปญหา แตพวกเขาจะกระโดดเขาไปพูดคุยแลกเปลีย่ นความคิดเห็นโดยทันทีเหมือน กับนักดับเพลิง โดยไมมีความลังเลใจแตอยางใด
242
อาจฟงดูเหมือนเปนเรื1องงายๆ แตระบบการบริหารผลงานอยางตอ เนื1องนี้ สามารถชวยยกระดับความสําเร็จใหกับทุกคนในองคกรได ชวยยก ระดับผลงานจากระดับลางขึ้นไปถึงระดับบน ชวยสรางขวัญกําลังใจ และ พัฒนาคนทํางานแบบเปนรายบุคคลทัง้ ระดับหัวหนาและลูกนอง เมื1อมีการนํา เรื1องการพูดคุยและฟดแบคเขามาใชกบั เปาหมายรายไตรมาส กระบวนการ ติดตาม OKRs ก็จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพไดอยางมากเลยทีเดียว ในชวงเวลาของการเปลีย่ นผานนี้ หลายองคกรมีแนวโนมจะเพิม่ หลัก เกณฑทหี่ ลากหลายไปในการประเมินผลงาน เชน พิจารณาจากความสามารถ และการทํางานเปนทีม ซึ่งทุกวันนี้องคกรจํานวนมากใชสองระบบ (เกากับ ใหม) คูขนานกันไป คือใชทั้งระบบการทบทวนผลงานประจําป ควบคูไปกับ การบริหารผลงานอยางตอเนื1องที่มีการพูดคุยสนทนากันตลอดเวลา ซึ่งจะ ชวยทําใหเกิดความสมดุลของทัง้ แนวคิดเกาและใหมนี้ ซึง่ แนวทางนีส้ ามารถ นําไปใชไดดีโดยเฉพาะอยางยิ่งกับองคกรขนาดใหญ บางองคกรรูสึกดีกับ การนําสองระบบมาผสมผสานกันและอยากใชไปตลอด ในขณะทีอ่ งคกรอื1นๆ อาจจะมีการยกเลิกและหยุดการใหคะแนนผลงานรวมถึงระบบโควตาเกรด ของผลงาน ทั้งนี้เพื1อใหมีระบบการประเมินผลงานที่มีความโปรงใสมากยิ่ง ขึ้น มีการทํางานรวมกันมากขึ้น รวมถึงมีหลักเกณฑการประเมินผลงานใน มิติที่หลากหลายมากขึ้น ตารางที่ 15.1 ระบบการบริหารผลงานประจําปกบั ระบบการบริหารผลงานอยางตอเนื1อง การบริหารผลงานประจําป การบริหารผลงานอยางตอเนื1อง การฟดแบค (ใหขอมูลปอนกลับ) ประจําป การฟดแบค (ใหขอมูลปอนกลับ) อยางตอเนื1อง ผูกกับการจายคาตอบแทน แยกออกจากการจายคาตอบแทน การสั่งการแบบเผด็จการ การโคชชิ่งและใหอิสระในการทํางาน เนนผลลัพธ เนนกระบวนการ เนนจุดออน เนนจุดแข็ง มีแนวโนมจะมีอคติ ใชขอมูลขอเท็จจริง
243
การบริหารผลงานแบบตอเนื1องที่แพกต องคกรแพกต ณ กรุงวอชิงตัน ดี. ซี. เปนองคกรไมแสวงหากําไร ทีม่ ี ภารกิจดานการพัฒนาและการคาระหวางประเทศ ไดเล็งเห็นถึงการ ทํางานรวมกันระหวางระบบ OKRs และการบริหารผลงานแบบตอ เนื1อง ทิม สตาฟฟา ผูอํานวยการของแพกต กลาววา “เรายอมรับใน OKRs เพราะพบวากระบวนการบริหารผลงาน ของเรากําลังมีปญหาเพิ่มขึ้นเรื1อยๆ เมื1อทางแพกตไดนําเอา OKRs เขามาใช เราไดยกเลิกระบบการประเมินผลงานประจําปแบบเดิม ไป โดยเราไดจัดใหมีการพบปะพูดคุยกันบอยขึ้นระหวางผูจัดการ และพนักงาน เราตั้งชื1อกันภายในวา ‘ใบพัด’ ซึ่งประกอบดวยองค ประกอบ 4 สวนดังนี้. “อยางแรกเลย คือการกําหนดใหมีการสนทนาแบบหนึ่งตอ หนึ่งเปนประจําทุกเดือน ระหวางพนักงานกับผูจัดการของเขาเกี่ยว กับเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้น. “อยางทีส่ อง คือกําหนดใหมกี ารทบทวนเปนรายไตรมาสเกีย่ ว กับความคืบหนาของ OKRs เราจะนัง่ ลงและพูดคุยกันวา ‘คุณทําอะไร สําเร็จบางในไตรมาสนี้ มีอะไรบางทีค่ ณ ุ ทําได และที่ไมสามารถทําได ทําไมถึงเปนอยางนั้น และเราจะสามารถเปลี่ยนแปลงอะไรไดบาง’. “อยางทีส่ าม เราจะมีการสนทนาเพื1อมุง พัฒนาความเชีย่ วชาญ ในทุกๆ ครึง่ ป พนักงานจะพูดคุยเกีย่ วกับเสนทางในอาชีพของตนเอง จากจุดทีย่ นื อยูในตอนนี้ จุดหมายทีต่ อ งการไป และสิง่ ทีผ่ จู ดั การและ องคกรจะสามารถสนับสนุนพวกเขาไปสูทิศทางใหมได. “อยางที่สี่ จะเปนขอมูลเชิงลึกที่ขับเคลื1อนตนเองอยางตอ เนื1อง เรากําลังอยูในบรรยากาศที่รายลอมไปดวยแรงสนับสนุนและ การใหฟดแบค (ขอมูลปอนกลับ) เชิงบวก แตผูคนจํานวนมากกลับ
244
ไมไดรับการฝกฝนใหสามารถนํามันออกมาใชได ขณะที่คุณกําลังนํา เสนองานใหกบั ทีมของคุณ หลังจากเสร็จสิน้ แลว ใครบางคนในทีมลุก ขึน้ แลวบอกกับคุณ เฮ เยีย่ มมาก คนสวนมากมักตอบวา ขอบคุณนะ แลวอาจจะถามตอวา อะไรคือสิง่ ทีค่ ณ ุ ชอบเกีย่ วกับเรื1องนี้ ซึง่ แนวคิด นี้คือการรับรูขอมูลปอนกลับที่เจาะลึกมากขึ้น ทันเวลา และทัน สถานการณ”
แยกออกจากกัน* แตยังเปนเพื1อนที่ดีตอกัน สําหรับบริษัทที่จะนําการบริหารผลงานอยางตอเนื1องมาใช ความ ชัดเจนและตรงไปตรงมาคือคุณสมบัติที่จําเปนอยางยิ่ง กลาวคือ ขั้นตอน แรกเลย จะตองแยกการจายผลตอบแทน (ทั้งการขึ้นเงินเดือนและการให โบนัส) ออกจาก OKRs โดยจะตองจัดใหมีการสนทนาที่แตกตางกันสอง รูปแบบ ทั้งที่เกิดขึ้นในจังหวะที่เหมาะสมและตามปฏิทินเวลา แบบแรก จะเปนการประเมินแบบมองยอนกลับไปถึงสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ทีผ่ า นมา โดยทัว่ ไปจะ เกิดขึ้นตอนสิ้นป และแบบที่สอง จะเกิดการสนทนาที่มองไปขางหนา และ เกิดขึน้ อยางตอเนื1องระหวางผูน าํ และพนักงาน โดยจะใชคาํ ถามทัง้ 5 ขอดังนี้ x คุณกําลังทํางานอะไร x คุณเปนอยางไรบาง OKRs ของคุณที่ผานมาเปนอยางไรบาง x มีอะไรที่เปนอุปสรรคตอการทํางานของคุณหรือไม x คุณตองการอะไรจากผมเพื1อใหประสบความสําเร็จมากขึ้นหรือไม x คุณจะสามารถเติบโตเพื1อใหบรรลุเปาหมายในอาชีพของคุณได อยางไร
* ระบบ OKRs กับระบบการจายผลตอบแทน - ผูเรียบเรียง
245
ถึงตอนนี้ ผมไมไดเสนอแนะวา ควรจะยกเลิกการทบทวนผลการ ดําเนินงานและเปาหมายไปทั้งหมด ขอสรุปวาแตละคนประสบความสําเร็จ อะไร บาง ยังสามารถนํามาใชแกปญ หาอคติจากการจัดอันดับได และ OKRs ยังชวยสะทอนใหเห็นถึงการทํางานอยางมีความหมาย ซึ่งจะชวยใหขอมูล ปอนกลับที่นาเชื1อถือสําหรับวงรอบตอไปที่กําลังจะมาถึง แตเมื1อเปาหมาย ถูกนํามาใช ในการกําหนดคาตอบแทนอยางไมถูกตอง พนักงานก็จะเหมือน กับกระสอบทราย พวกเขาก็จะเริ่มตนดวยการปองกันตนเอง เขาไมอยาก ทําอะไรที่ยากๆ หรือทาทายเพราะมีผลกระทบตอผลตอบแทนโดยตรงของ เขา เมื1อเปนเชนนี้จะทําใหเกิดความเสียหายตอองคกรได สมมติวาพนักงานคนหนึ่งมีการกําหนดเปาหมายที่ทาทายและถึง แมจะบรรลุเปาหมายไดที่ระดับ 75% แตเขาก็ควรจะไดผลตอบแทนที่ดีใน ระดับ 100% ของโบนัส หรือควรจะถึง 120% ดวยซํา้ ในขณะทีอ่ กี ดานหนึง่ พนักงาน B สามารถบรรลุผลลัพธที่สําคัญของเธอไดถึง 90% แตผูจัดการ ของพนักงานคนนีร้ วู า เขาไมไดทา ทายหรือกระตือรือรนนัก และยิง่ ไปกวานัน้ เขายังไมไดเขารวมการประชุมทีมงานที่สําคัญในหลายๆ ครั้งดวย ถาอยาง นั้น เขาควรจะได โบนัสที่มากกวาพนักงาน A หรือไม ถาคุณตองการรักษาขวัญกําลังใจพนักงานทีม่ คี วามคิดริเริม่ และกลา ทํางานทาทายอยู คุณคงตอบไดงายๆ ดวยคําสั้นๆ วา “ไม” อยางที่ ลาสซโล บอค พูดไวที่กูเกิลวา OKRs จะถูกนํามาใช ในการ ประเมินผลการทํางานในสัดสวนหนึง่ ในสามหรือนอยกวานัน้ สวนทีเ่ หลือจะ ผูกไวกับการใหขอมูลปอนกลับจากทีมงานหรือหนวยงานอื1นที่อยูคนละสาย งาน (ขามสายงาน) และสวนอื1นๆ ที่เกี่ยวของ แตอยางไรก็ตาม ผลที่ไดรับ อาจจะไมเปนไปตามความเปนจริงก็ ได เหมือนกับการที่เปาหมายที่ตั้งไวแต ไมบรรลุเปาหมายเพราะปจจัยอื1นๆ เชน ความผันผวนของตลาด หรือลูกคา ยกเลิกงาน ดังนั้น การพิจารณาผลตอบแทนพนักงานควรจะดูองคประกอบ ในหลายดานๆ ที่เกี่ยวของทั้งหมด กูเกิลจึงตั้งใจแยกคะแนนของผลงาน ที่มาจากเปาหมายของแตละไตรมาสออกจากการพิจารณาจายคาตอบแทน
246
แนวทางนี้ไดรบั การพัฒนาขึน้ มาเพื1อรองรับพฤติกรรมของคนทีม่ คี วาม ซับซอน เพราะวาในการทํางานทุกวันนี้ จะมีการตัดสินดวยความรูส กึ ของคน เขามาเกี่ยวของเสมอ อยางไรก็ตาม ทั้ง OKRs และการจายคาตอบแทนก็ ยังคงเปนเพื1อนทีด่ ตี อ กันอยู พวกเขายังไมไดสญ ู เสียการติดตอกัน เพียงแต ไมไดผูกติดเปนคูกัน และนี่จะเปนหนทางที่ดีตอสุขภาพขององคกร
วัตถุประสงค และ ผลลัพธที่สําคัญ
เปาหมาย ผลตอบแทน การบริหารงาน
การสนทนา การฟดแบค และ การยกยองชมเชย
ผลตอบแทน และ การประเมินผลงาน
เมื1อบริษัทมีการเปลี่ยนไปสูการบริหารผลงานอยางตอเนื1อง ทั้ง OKRs และ CFRs จะเปนอิสระจากการจายคาตอบแทนและการประเมินผลอยางเปนทางการ
การสนทนา ปเตอร ดรักเกอร ซึ่งเปนหนึ่งในคนแรกๆ ที่ใหความสําคัญกับการ พูดคุยแบบหนึ่งตอหนึ่งระหวางหัวหนากับลูกนอง แอนดี้ โกรฟ คาดการณ ไววาถาใชเวลาพูดคุยกันประมาณ 90 นาที “จะชวยใหการทํางานของลูก นองมีคุณภาพดีตอไปไดถึงสองสัปดาห” จากความคิดนี้ แอนดี้เลยกําหนด วาการพูดคุยแบบหนึ่งตอหนึ่งเปนสิ่งที่ตองปฏิบัติในอินเทล โดยประเด็น ของการพูดคุยคือ จะเปนทั้งเรื1องการสอนงาน และการแลกเปลีย่ นขอมูลกันทั้ง สองฝาย มีการพูดคุยถึงปญหาและสถานการณตา งๆ ทีเ่ กิดขึน้ หัวหนา จะสอนทักษะและความรูตางๆ ใหกับลูกนอง รวมถึงเสนอแนะแนว ทางในการทํางาน ในขณะเดียวกัน ลูกนองก็สามารถยอนกลับไปที่
247
หัวหนาไดไมวาตอนนี้เขากําลังทําอะไร หรือกังวลอะไรอยูบาง สรุป วาการพูดระหวางหัวหนากับลูกนองนี้จริงๆ แลวถือวาเปนวาระของ ลูกนองไมใชของหัวหนา เพราะลูกนองเปนคนกําหนดวาระ กําหนด รูปแบบบรรยากาศในการพูดคุยที่เขาตองการ หนาที่ของหัวหนาคือ นั่งอยูเพื1อเรียนรูและโคชชิ่งลูกนอง1 ในระหวางการพูดคุยแบบหนึ่งตอหนึ่งนี้ หัวหนาจะตอง สนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแบบเปดใจ เพราะเปน โอกาสดีที่หัวหนาจะไดเขาใจถึงปญหาการทํางานที่ถูกปดหรือซอน เอาไว หัวหนาจะไดรูวาถึงความรูสึกของลูกนอง เชน ลูกนองรูสึก พึงพอใจกับผลงานของตนเองหรือไม มีอะไรที่เขาไมพอใจหรือเปน ปญหาอุปสรรคตอการทํางานหรือไม และเขารูสึกลังเลสงสัยในเสน ทางที่เขากําลังเดินอยูหรือไม ดวยระบบการติดตามความคืบหนาของงานทีท่ นั สมัย และการพูดคุย กันเปนประจําตามแนวทางของโกรฟยังคงทันสมัยอยู2 การพูดคุยแบบหนึง่ ตอหนึง่ อยางมีประสิทธิภาพ จะชวยใหหวั หนารูร ายละเอียดงานประจําวันของ ลูกนองไดดยี งิ่ ขึน้ สําหรับความถี่ในการพูดคุยนีพ้ วกเขาสามารถกําหนดชวง เวลาที่เหมาะสมกันเองไดเลย อาจจะเปนรายสัปดาห รายเดือน หรือราย ไตรมาสก็ ได ทั้งนี้จากประสบการณการทํางานของเบตเตอรเวิรกสที่ทํากับ องคกรตางๆ มาเปนรอยแหง พบวามีประเด็นสําคัญสําหรับการนํามาใช ใน การพูดคุยแบบหนึ่งตอหนึ่งอยู 5 ประเด็นดังนี้ การตัง้ เปาหมายและการสะทอนกลับ (Goal Setting and Reeflection) เมื1อการวางแผน OKRs ของพนักงานมาถึงรอบ 1
แอนดี้เชื1อวา “ลูกนอง” ควรมีสัดสวนในการพูดถึง 90% ของเวลาในสนทนาทั้งหมด เมื1อผมพบกับ หัวหนาของผมที่อินเทล เขาจะเนนวาเขาจะชวยผมใหบรรลุผลลัพธที่สําคัญของผมไดอยางไร 2 จากผลการศึกษาของแกลลอป (Gallup) การพูดคุยแบบหนึง่ ตอหนึง่ ทีบ ่ อ ยครัง้ จะชวยเพิม่ การมีสว น รวมของพนักงานมากถึงสามเทา
248
เวลาที่กําหนดไว การพูดคุยจะเนนการปรับใหเกิดความสอดคลอง กันมากที่สุดระหวางวัตถุประสงคและผลลัพธที่สําคัญรายบุคคลกับ วัตถุประสงคหลักขององคกร การติ ด ตามความก า วหน า อย า งต อ เนื1อ ง (Ongoing Progress Updates) เปนการสรุปและตรวจสอบขอมูลตางๆ เกีย่ วกับ ความกาวหนาของพนักงานแบบเรียลไทมกบั การแกไขปญหาทีจ่ าํ เปน* การโคชแบบสองทิศทาง (Two-way Coaching) จะชวย ใหลูกนองไดพัฒนาศักยภาพของตนเอง และหัวหนาเองก็จะทํางาน ไดดีขึ้นดวย ความกาวหนาในอาชีพ (Career Growth) ชวยพัฒนาทักษะ ในการทํางาน กําหนดแนวทางความกาวหนาในอาชีพ และทําให พนักงานเห็นโอกาสความกาวหนาในการทํางานกับบริษัทในอนาคต พู ด คุ ย เรื1อ งการทบทวนผลการปฏิ บั ติ ง านกั น เล็ ก น อ ย (Lightweigth Performance Reviews) กระบวนการฟดแบค (ใหขอมูลปอนกลับ) จะชวยรวบรวมขอมูลของผลการปฏิบัติการ ตั้งแตการพูดคุยกันครั้งลาสุดวาทําอะไรสําเร็จไปบาง ความสําเร็จ นั้นสอดคลองกับเปาหมายองคกรหรือไม (อยางที่กลาวไวตอนตน วา การพูดคุยสนทนานี้ ไมเกีย่ วกับการทบทวนคาตอบแทนและโบนัส ประจําปของพนักงาน) เมื1อการพูดคุยหรือการสนทนาภายในองคกรกลายเปนพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญ ผูจ ดั การจึงเริม่ มีการเปลีย่ นบทบาทจากการเปนผูค วบคุมงานใหกลายมาเปน ครู โคช และพีเ่ ลีย้ ง ถาหัวหนาผลิตภัณฑบอกวาเขาไมแนใจในการตัดสินใจ เรื1องการเลือกรูปแบบของผลิตภัณฑ ซึง่ สงผลตอการเปดตัวผลิตภัณฑ ใหทนั ตามแผนเดิมที่กําหนดไว ดังนั้น กอนที่จะมีการประชุมทีมงานระดับบริหาร *
การติดตามความกาวหนา จะใชคําถามพื้นฐานสองคําถาม ทําอะไรไดดี และอะไรที่ยังทําไดไมดี
249
ในครั้งตอไป ถาเราเปน CEO หรือเปนโคช อาจจะลองตั้งคําถามดู เชน คุณคิดวาเราควรจะทําอยางไรที่จะทําใหเราสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับเรื1อง นี้ ไดดีกวานี้ ถาเราจะนําเสนอทางเลือกสักสองทางเลือกที่ดีที่สุดจะมีอะไร บาง คุณคิดวาคุณสามารถทําอยางนั้นไดหรือไม ถาหัวหนาผลิตภัณฑเห็นดวย อาจจะนําไปสูการทบทวนแผนใหมได ดังนัน้ การโคชจะชวยฝกใหพนักงานมีมมุ มองเกีย่ วกับการปรับปรุงงานและ ปองกันปญหาในอนาคตไดดีขึ้น ซึ่งวิธีนี้จะแตกตางจากการวิพากษวิจารณ ในเชิงลบหรือจับผิด
ฟดแบค (การใหขอมูลปอนกลับ) ในหนังสือ Lean In : Woman, Work and the Will to Lead ของ เชอริล แซนดเบิรก ไดเขียนไววา การฟดแบคหรือการใหขอมูลปอนกลับ เปนมุมมองความคิดเห็นที่มาจากการสังเกตและประสบการณ ซึ่งจะชวย ใหเรารูวาคนคนนั้นเขาคิดและรูสึกอยางไรกับเรา และเพื1อใหไดประโยชน จาก OKRs อยางเต็มที่ จะตองเพิ่มเรื1องการฟดแบคเขาไป เพราะการ ฟดแบคจะชวยเติมเต็มในสิ่งที่คุณขาดหรือยังทําไดไมดี ถาคุณไมรูวาคุณ ทํางานไดดีหรือไมเพียงใด คุณก็ ไมรูจะพัฒนาอะไรเพิ่มเติม สุดทายก็ ไม สามารถพัฒนางานใหดีขึ้นไดอีก คนทํางานทุกวันนี้ “ตองการทํางานไดดวยตนเอง” และตองการ “แรงบันดาลใจ” เขาไมตองการให ใครมาบอกหรือมาสั่งวาเขาตองทําอะไร พวกเขาตองการบอกกับหัวหนากลับไปดวยวาเขาคิดอยางไรกับงานทีท่ าํ และ กับหัวหนา และเขาไมตองการรอใหครบปกวาพวกเขาจะไดรับการฟดแบค จากหัวหนา คนทํางานยุคใหมตองการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื1องเปาหมายการ ทํางานกับหัวหนาเปนประจําสมํา่ เสมอ และเขาตองการแลกเปลีย่ นความคิด เห็นเรื1องงานกับคนอื1นๆ ทีเ่ กีย่ วของอีกดวย ตองการรูว า เพื1อนรวมงานทํางาน กาวหนาไปถึงไหนแลว ระบบ OKRs ที่โปรงใสและเปดเผยตอสาธารณะ
250
จะชวยทําใหเกิดคําถามดีๆ จากทุกทิศทุกทาง อะไรเปนสิ่งที่ผม/คุณ/พวก เราตองใหความสําคัญและทําใหถูกตอง ถาผม/คุณหรือเราทําเปาหมาย นัน้ ๆ ใหเกิดขึน้ ไดจริงจะถือเปนความสําเร็จทีย่ งิ่ ใหญหรือไม ถาตองการทําให เปาหมายนัน้ ๆ ทาทายมากยิง่ ขึ้น คุณตองการคําแนะนําอะไรเพิม่ ขึน้ หรือไม การฟดแบคสามารถสงผลกระทบไดมาก แตจะตองมีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง การใหขอ มูลปอนกลับเชิงลบ “เมื1อสัปดาหทแี่ ลว คุณเริม่ การประชุม ไดลาชา และมันก็ออกมาเละเทะ” การใหขอมูลปอนกลับเชิงบวก “คุณนําเสนองานออกมาไดดีมาก คุณสามารถดึงความสนใจของผูฟงไดดวยเรื1องราวที่คุณเปดการนําเสนอ และผมชอบวิธีที่คุณปดทายดวยการบอกวาจะทําอะไรตอไป” โดยทั่วไปในองคกรที่กําลังพัฒนา การฟดแบคมักจะดําเนินการโดย ฝายทรัพยากรบุคคล โดยมีกําหนดตารางเวลาไวตายตัวและชัดเจน สวน องคกรที่พัฒนาแลวการฟดแบคจะทําทันทีที่เกิดเหตุการณนั้นๆ ขึ้นมา และ เปนฟดแบคแบบเปดใหมาจากหลายทิศทางจากผูคนที่เกี่ยวของทั้งหมด สมมติวา ถาคุณตองการประเมินเพื1อใหคะแนนกับคนขับรถของอูเบอร (ในขณะเดียวกันคนขับรถอูเบอรก็สามารถประเมินใหคะแนนคุณไดเหมือน กัน) การใหคะแนนสามารถประเมินผานแอพพลิเคชั่นที่ชื1อวา Yelp ไดเลย ทันที (Yelp เปนแอพพลิเคชัน่ ทีด่ าวน โหลดมาใชไดฟรีบนมือถือและสามารถ เชื1อมตอกับชุมชนออนไลน Yelp จะชวยแนะนําสินคาหรือบริการดีๆ คํา แนะนําเหลานัน้ มาจากการรีววิ โดยผู ใชจริงทีเ่ คยใชสนิ คาหรือบริการนัน้ ๆ มา แลว ประเด็นคือ Yelp พิสูจนวา ทุกวันนี้ความคิดเห็นของคนแปลกหนาที่ เราไมเคยรูจัก กลับมีคายิ่งกวาขอมูลที่เปนทางการ หรือโฆษณาที่ใชคนดัง มาโฆษณา) แลวทําไมในทีท่ าํ งานจึงไมสามารถมีระบบฟดแบคแบบสองทาง ระหวางหัวหนากับลูกนองได และนี่นาจะเปนโอกาสที่ดีมากๆ สําหรับคนใน องคกรที่จะไดพูดคุยกับหัวหนาของพวกเขา อะไรที่พวกคุณตองการจากผม
251
เพื1อใหประสบความสําเร็จ และตอนนี้ผมก็จะขอบอกพวกคุณเชนกันวาผม ตองการอะไรจากพวกคุณดวย ในอดีตเมื1อไมกี่ปที่ผานมา ถาพนักงานตองการแสดงความคิดเห็น อะไร จะตองเขียนบันทึกแบบตองลงชื1อแลวไปหยอนใสกลองรับฟงความ คิดเห็นหรือกลองขอเสนอแนะของบริษทั แตมายุคนีบ้ ริษทั ยุคใหมใชเครื1อง มือทางเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาแทนกลองรับฟงความคิดเห็นพนักงาน จะเห็นไดตั้งแตการสํารวจแบบความคิดเห็นแบบเร็วๆ คราวๆ ไปจนถึง เครือขายสังคมออนไลนรปู แบบตางๆ และแอพพลิเคชัน่ สําหรับการประเมิน ใหคะแนนสําหรับการจัดการประชุมและผูจัดการประชุม การใหขอ มูลปอนกลับระหวางกัน (Peer-to-Peer) หรือแบบ 360 องศา จะชวยทําใหการบริหารผลงานแบบตอเนื1องมีความชัดเจนมากขึน้ ซึง่ อาจจะ ทําแบบไมเปดเผย หรือแบบเผยแพรสสู าธารณะ หรืออยูร ะหวางทัง้ สองแบบ ก็ ได ตัวอยางเชน ถาถามวาการฟดแบคถูกออกแบบมาเพื1อชวยใหพนักงาน ไดมีความกาวหนาในหนาที่การงานไดหรือไม (ถาใช คําตอบนี้จะถูกเปลี่ยน ไปเปนเรื1องเฉพาะตัวบุคคล) มันจะชวยทําใหเห็นปญหา และองคกรตองทบทวนเรื1องนี้ใชหรือไม (คําตอบนี้จะถูกสงไปยังแผนกทรัพยากรบุคคล) ซึ่งการออกแบบระบบฟเจอรของการฟดแบคทั้งหมดนี้ จะเปนแบบ ไหนอยางไรนัน้ ก็ขนึ้ อยูก บั วัตถุประสงคและความเหมาะสมกับแตละองคกร การใหขอ มูลปอนกลับจากเพื1อนรวมงาน จะมีคณ ุ คาอยางมากตอการ ทํางานรวมกันระหวางสายงาน ดวยระบบเชื1อมโยงการทํางานและประสาน งานกันระหวางสมาชิกภายในทีม เมื1อการสื1อสารในแนวราบเปดกวางมากขึน้ การทํางานเปนทีมรวมกันระหวางหนวยงานก็จะกลายเปนเรื1องปกติ การนํา OKRs มาใชรวมกับการฟดแบคแบบ 360 องศาจะชวยใหการทํางานแบบ ไซโล (การทํางานแบบหนวยงานใครหนวยงานมัน) กลายเปนเปนอดีตไปเลย
252
การยกยองชมเชย การยกยองชมเชยถือเปนอีกหนึ่งองคประกอบของ CFRs ที่มักถูก มองขามมากที่สุด และไมคอยมีคนเขาใจวาเปนอยางไร เมื1อกอนคนชอบ ไดรางวัลเปนนาฬกาทองคําเพราะคิดวามันใชงานไดยาวและดูมีราคา แต เปนความเชื1อแบบยุคโบราณที่ตอนนี้ ไมมีแลว การยกยองชื1นชมสมัยใหม จะมาจากผลงานที่เกิดขึ้น และผลการทํางานรวมกันกับเพื1อนรวมงาน ซึ่ง เปนการสรางระบบของสังคมที่คนสามารถสรางความสําเร็จใหเกิดขึ้นได จากความสามารถของตัวเขาเอง เมื1อสายการบินเจตบลูมีการนําระบบการ ยกยองชมเชยระหวางเพื1อนรวมงาน และผูน าํ ไดเริม่ มองเห็นคนที่ไมเคยอยู ในสายตา ระดับความพึงพอใจของพนักงานก็เพิ่มสูงขึ้นกวาเทาตัว การยกยองชมเชยอยางตอเนื1องมีสว นสําคัญในการสรางความผูกพัน ของพนักงานตอองคกร การพูดวา “ขอบคุณ” เปนสิ่งมหัศจรรยที่จะสราง ความผูกพันใหกบั ทีม มีตวั เลขแสดงไววา บริษทั ทีม่ กี ารยกยองชมเชยกันเปน ประจํา จะมีอตั ราการลาออกทีต่ าํ่ กวาบริษทั ที่ไมคอ ยมีการยกยองชมเชยกัน ถึง 31% และนี่จะเปนแนวทางในการสรางใหเกิดขึ้นกับองคกร x การยกยองชื1นชมระหวางเพื1อนรวมงานอยางเปนทางการ เมื1อ พนักงานทํางานสําเร็จ จะไดรบั การยกยองชมเชยจากเพื1อนรวมงาน อยางสมํ่าเสมอ เปนการสรางใหเกิดวัฒนธรรมการสํานึกขอบคุณ (Gratitude Culture) ตัวอยางเชน ที่ซูมพิซซา ในการประชุมรวม กันทุกวันศุกร จะจบลงที่พนักงานไดมีการพูดชื1นชมถึงพนักงาน ที่ทํางานอยางโดดเดน โดยไมมีการกําหนดวาจะตองเปนใครพูด และตองพูดอะไรบาง x การกําหนดหลักเกณฑที่ชัดเจน การยกยองชื1นชมบุคคลสําหรับ การทํางานและผลลัพธที่เกิดขึ้น ความเสร็จสมบูรณของโครงการ พิเศษ ความสําเร็จตามเปาหมายของบริษัท การแสดงถึงคุณคา ของบริษัท รางวัลพนักงานดีเดนประจําเดือนจะถูกแทนที่ดวย ความสําเร็จประจําเดือน
253
x
x
x
การแบงปนเรื1องราวการยกยองชมเชย จดหมายขาวหรือบล็อก ของบริษทั สามารถนํามาใช ในการเลาเรื1องราวเกีย่ วกับความสําเร็จ ซึ่งจะชวยทําใหการยกยองชมเชยมีความหมายมากขึ้น การทําใหการยกยองชมเชยเกิดขึ้นบอยครั้ง จับตอง และเขา ถึงได การยกยองชมเชยกับความสําเร็จเล็กๆ รวมถึงการชื1นชม ความพยายามเปนพิเศษเพื1อใหทันกําหนดเสนตาย หรือการปรับ แกไขขอเสนอใหดีขึ้น หรือสิ่งเล็กๆ ที่ผูจัดการทํา เพื1อเปนการ มอบรางวัลใหกับทีมงาน การเชื1อมโยงเรื1องของการยกยองชมเชยไปยังเปาหมายและ กลยุทธของบริษัท การบริการลูกคา นวัตกรรม การทํางานเปน ทีม การลดตนทุน เรื1องที่สําคัญๆ ขององคกรเหลานี้จะเกิดขึ้นได เมื1อไดรับการสนับสนุนจากการพูดยกยองชมเชยอยางทันเวลา
รูปแบบของ OKRs สามารถออกแบบใหเกิดการยกยองชมเชยกัน ระหวางเพื1อนรวมงาน เปาหมายรายไตรมาสจะชวยกําหนดวาเรื1องไหนควรจะ ทําการฟดแบค หรือทําการฟดแบคซํา้ แลวจะทําใหเกิดคุณคาจากการยกยอง ชมเชยไดมากที่สุด ซึ่ง OKRs ที่มีความโปรงใสจะชวยทําใหการเฉลิมฉลอง เปนเหมือนชัยชนะทีย่ งิ่ ใหญ รวมถึงชัยชนะเล็กๆ กับเพื1อนรวมงานทีม่ คี วาม เปนธรรมชาติ และทัง้ หมดควรไดรบั การสองแสงจากสปอตไลต ใหทกุ คนได มองเห็นกันทั่วทั้งองคกร เมื1อทีมงานและหนHวยงานตางๆ เริ่มตนที่จะมีการเชื1อมตอกันในรูป แบบนี้แลว พนักงานก็จะเขามารวมมากขึ้น และการยกยองชมเชยก็จะเกิด ขึ้นไปทั่วทั้งบริษัท แตละคนสามารถชื1นชมเปาหมายของคนอื1นๆ ได โดยไม ตองคํานึงถึงตําแหนHงหรือหนHวยงานใดๆ และที่สําคัญ การชื1นชมทุกครั้ง จะเปนกาวที่สําคัญที่จะสรางใหเกิดความเปนเลิศในการปฏิบัติงาน ซึ่งเปน เปาหมายสูงสุดของทั้ง OKRs และ CFRs
254
16
การยกเลิกระบบประเมินผลงานประจําป ของอะโดบี้ ดอนนา มอรริส รองประธานกรรมการบริหาร ดานประสบการณลูกคาและพนักงาน
เ
มื1อหกปที่แลว บริษัทซอฟตแวรแหงหนึ่งที่ชื1อ อะโดบี้ (Adobe) อยูใน สถานการณที่ไมแตกตางไปจากบริษัทอื1นๆ ที่ตองจมอยูกับการประเมิน ผลการปฏิบัติงานประจําปที่ลาสมัย ผูจัดการแตละคนตองใชเวลาถึงแปด ชัว่ โมงตอพนักงานหนึง่ คนในการประเมินผลงานประจําป นอกจากเสียเวลา แลวระบบนีย้ งั เปนระบบทีท่ าํ ลายขวัญและกําลังใจพนักงานอีกดวย ในเดือน กุมภาพันธของทุกๆ ปพนักงานทีเ่ กงๆ จํานวนมากพรอมใจกันลาออกไปทํางาน ที่อื1น เพื1อแสดงใหเห็นวาไมพอใจกับระบบการประเมินผลงานประจําป เมื1อ มองในภาพรวมๆ แลวจะเห็นวาบริษทั ไดสญ ู เสียเวลาของผูจ ดั การทุกคนรวม กันปๆ หนึง่ ไมนอ ยกวา 80,000 ชัว่ โมงไปกับระบบการประเมินผลงานประจํา ปที่ไมไดสรางคุณคาอะไรใหกบั องคกรเลย ถาเอาชัว่ โมงทํางานทัง้ หมดนี้ ไป จางคนทํางานประจํา สามารถจางคนไดถึง 40 คนเลยทีเดียว ในขณะที่ธุรกิจของอะโดบี้กําลังกาวไปขางหนาอยางรวดเร็วกับรูป แบบธุรกิจในการใหเชาใชงานบนคลาวด (Cloud-based Subscription) และจําเปนอยางยิ่งที่จะตองรักษาการเปนผูนําในธุรกิจนี้ แตถึงแมวาบริษัท จะสามารถพัฒนาสินคาบริการไดทันสมัย ดูแลลูกคาดีอยางไร ระบบปฏิบัติ การจะทันสมัยแคไหน แตรปู แบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของเราแทนที่ จะพัฒนาไปขางหนาแตกลับไปยึดติดกับระบบการทํางานแบบเกาอยูอีก
255
VIRTUAL COMPULSIONS
อะโดบี้จะยกเลิกระบบ การประเมินผลงานประจําป
บริษัทพรอมจะใหความสําคัญกับกระบวนการ ฟดแบคที่ทําตอเนื1องประจําตลอดทั้งป เพื1อ นําผลไปใช ในการจายรางวัลหรือผลตอบแทน
เดวีนา เซนกัปตา
รายงานจากบังกาลอร ริษัทอะโดบี้ซิสเต็ม มีพนักงานทั้งหมด ประมาณ 10,000 คน ซึ่งในจํานวนนี้ ทํางานประจําอยูท อี่ นิ เดียประมาณ 2,000 คน บริษัทเพิ่งเสร็จสิ้นการประเมินผลงานประจํา ปของพนักงานไปเมื1อเร็วๆ นี้เอง และระบบนี้นGา จะถูกใช ในบริษัทนี้เปนปสุดทายแลว บริษัทผู ให บริการและผลิตภัณฑระดับโลกแหงนี้ มีแผนที่ จะยกเลิกระบบการประเมินผลงานประจําปแบบ เดิมที่ใชกันมายาวนาน ซึ่งเปนระบบที่กําหนดให หัวหนาประเมินผลงานลูกนองเพียงครัง้ เดียวตอน สิน้ ป และตองเอาผลงานของลูกนองแตละคนมา เปรียบเทียบกันวาใครมีผลงานดีกวากัน “เรามีแผนทีจ่ ะยกเลิกระบบการประเมินผลงาน ประจําปแบบเกา” ดอนนGา มอรริส รองประธาน กรรมการบริหารอาวุโส สายงานทรัพยากรบุคคล ของบริษทั ไดกลาวไว และเธอไดอธิบายเพิม่ เติมวา ระบบการประเมินผลงานแบบใหมที่เรารางเอาไว คือ การใหผจู ดั การทุกคนประเมินผลงานและแจง ผลใหทีมงานรับทราบอยางสมํ่าเสมอ โดยไมตอง รอครบหนึง่ ปเหมือนระบบเดิม ทัง้ นีเ้ พื1อใหมนั่ ใจวา พนักงานแตละคนจะไดมเี วลาพัฒนาตนเองไดเร็ว ขึ้นและตอเนื1องมากยิ่งขึ้น อะโดบี้ไดรบั ผลกระทบหนักหลังจากทีธ่ รุ กิจเขา สูการตลาดยุคดิจิทัล ทําใหบริษัทตองปรับเปลี่ยน กลุม ลูกคาและกลยุทธการตลาดทีแ่ ตกตางไปจาก เดิมอยางสิ้นเชิง นี่จึงเปนเหตุผลหลักที่ทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารงานทรัพยากร บุคคลกันครั้งใหญ อาจจะพูดวาเปนการ “ยก เครื1อง” ทั้งระบบก็วาได
บ
/+8* D-< +8"" :+#+8D)